ผลการตรวจราชการและนิเทศงาน รอบที่ 1

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นเน้นหนัก โครงการส่งเสริมและพัฒนาวิสาหกิจชุมชน 2550
Advertisements

การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
วาระที่ 4.1 องค์ประกอบคณะกรรมการ/คณะทำงาน ภายใต้อปสข.
การอบรม อสม. รุ่น 2 เป้าหมาย อสม.รุ่น 1 - อสมช. ด้านโรคความดันโลหิตสูง
แผนการดำเนินงาน สคร.5 ลำดับที่ กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ หมายเหตุ 1
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี
โครงการพัฒนาโรงพยาบาลราชบุรี บริการฉับไว ไร้ความแออัด
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
การประชุมเชิงปฏิบัติการ สร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ กับกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
ขับเคลื่อน....ความร่วมมือ.... ด้านสุขภาพและสิ่งแวดล้อม ภาคเหนือ
การป้องกันควบคุมโรคขาดสารไอโอดีน
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
“การสนับสนุนเครือข่ายให้มีการพัฒนาการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555” โดย ดร.นายแพทย์อนุพงค์ สุจริยากุล ผู้อำนวยการสำนักงานควบคุมป้องกันโรค.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
การประชุมกลุ่มย่อยเรื่อง ด้วย การพัฒนาศักยภาพ ของภาคประชาชน / แรงงาน / ผู้บริโภค ในการสนับสนุนให้นำ GHS ไป ปฏิบัติ ประธาน : ผศ. สำลี ใจดี เลขานุการกลุ่ม.
ตัวชี้วัดสำคัญ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ ของ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา วันที่ 26 พฤศจิกายน
ตัวชี้วัดการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหาร ปีงบประมาณ พ.ศ. 2556
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
กลุ่ม น้ำบริโภคสะอาด ปลอดภัย เพียงพอ
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
ทิศทางการบริหารงบประมาณ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
การสร้างความเข้มแข็งของ ระบบสนับสนุนยุทธศาสตร์. ความจริงที่เป็นอยู่ ( มายาวนาน )
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
ตัวชี้วัดที่ 3 ระดับความสำเร็จในการพัฒนาบริการผู้ป่วยโรคจิตให้เข้าถึงบริการเพิ่มขึ้นในพื้นที่ เป้าหมาย จำนวนผู้ป่วยโรคจิตที่เข้าถึงบริการเพิ่มขึ้นร้อยละ.
ระเบียบวาระการเตรียมทีมนิเทศงาน ปี 2557
ประเด็นการตรวจราชการ กฎหมายและการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
MIND MAPงานสุขภาพศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
ตัวชี้วัด เป้าหมาย แนวทางดำเนินงาน ของกลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค
นโยบายและยุทธศาสตร์ การควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
นักโภชนาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
การพัฒนาอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน
อย.น้อย : เริ่มต้น และความคาดหวัง รวบรวมโดย...กฤษณา แป้นงาม
มุมมองการพัฒนาและขับเคลื่อน งานกองทุนฯอย่างยั่งยืน
เภสัชกร 7 กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดหนองคาย
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
ศูนย์อนามัยที่ 2 สระบุรี
ภารกิจและทิศทางการดำเนินงาน กฎหมายสาธารณสุข ของกรมอนามัย
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
ผลการสำรวจความต้องการ ความ คาดหวัง และความพึงพอใจ ของภาคีเครือข่ายด้านการส่งเสริม สุขภาพและพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่รับผิดชอบ ต่อศูนย์อนามัยที่
การชี้แจงตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านคุณภาพบริการ ร้อยละของอาเภอที่มีทีม miniMERT, MCATT, SRRT คุณภาพ ธีราภา ธานี พยาบาลวิชาชีพชำนาญ.
แนวทางการดำเนินงาน อนามัยสิ่งแวดล้อมในปี 2558
วันที่ 1 กรกฎาคม 2557 ณ ห้องประชุมชั้น 7 โรงพยาบาลศูนย์อุดรธานี
การดำเนินงานสุขภาพจิตเครือข่าย ในเขตสุขภาพที่10 ปีงบประมาณ 2558
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
ศูนย์พัฒนาเครือข่ายบริการสุขภาพจิตและจิตเวช
แผนการดำเนินงาน ของศูนย์กฎหมาย ปีงบประมาณ พ.ศ กรมควบคุมโรค
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
การกำกับดูแลโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพ และโฆษณาสถานพยาบาล
ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดโรคและภัยสุขภาพ รอบ 5 เดือน ( ตุลาคม กุมภาพันธ์ 2554 )
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
กลุ่มที่ 5 และกลุ่มที่ 12. สรุปกระบวนการและ ข้อเสนอแนะ การนิเทศ รพ. สต. รอบที่ 1 เป็นแนวคิดที่เน้นการนิเทศงานแบบ กระบวนการทำงานของแต่ละพื้นที่ ซึ่งไม่มีรูปแบบตายตัว.
2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง ตัวชี้วัดระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้าน บริการ อาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ ตัวชี้วัดผลงาน 1. มีการคณะกรรมการ หรือ คณะอนุกรรมการ.
ยุทธศาสตร์พัฒนาชุมชนน่าอยู่ เมืองน่าอยู่ ผลงาน ปี 2551 แผนงาน ปี 2552 ศูนย์อนามัยที่ 9 พิษณุโลก 2 กันยายน 2551.
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
ความจำเป็นของเครือข่ายภาคประชาชนระดับภูมิภาค มีมากน้อยเพียงใด จำเป็นเพราะต้องแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน ช่วยเหลือซึ่งกันและ กันเพื่อได้ประโยชน์ด้วยกัน มีการสร้างเครือข่ายในแต่ละภูมิภาค.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ผลการตรวจราชการและนิเทศงาน รอบที่ 1 ผลการตรวจราชการและนิเทศงาน รอบที่ 1 คณะที่ 4 ระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้านบริการ อาหาร และผลิตภัณฑ์สุขภาพและด้านสิ่งแวดล้อม

ติดตามประสิทธิภาพในการตรวจราชการ รอบ 2 เป้าหมายที่ 1 มีคณะอนุกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพระดับเขต ดำเนินการตามอำนาจ หน้าที่ที่กำหนด - เขตจัดทำคำสั่งฯ แล้ว เป้าหมายที่ 2 มีคณะกรรมการหรือคณะอนุกรรมการหรือคณะทำงานเพื่อพัฒนาระบบงานคุ้มครองผู้บริโภคสุขภาพระดับจังหวัด - อยู่ระหว่างดำเนินการ ติดตามประสิทธิภาพในการตรวจราชการ รอบ 2

เป้าหมายที่ 3 ร้อยละของเกลือบริโภคเสริมไอโอดีน ณ สถานที่ผลิตผ่านมาตรฐานตามประกาศฯ กำหนด (20 – 40 ppm) (ร้อยละ 100) - 1 แห่ง ผ่าน 100%

สถานที่ผลิตเกลือ แห่งที่ 1 ผ่าน สถานที่ผลิตเกลือ แห่งที่ 2 ไม่ผ่าน

เป้าหมายที่ 4 ร้อยละของการโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพ อาหารเสริมและสถานพยาบาลผิดกฎหมายได้รับการจัดการ (ร้อยละ 100) ด้านผลิตภัณฑ์ - ทำบันทึกข้อตกลงระหว่างผู้ประกอบการสื่อ กับ สสจ. - อยู่ระหว่างดำเนินการเฝ้าระวัง (ด้านผลิตภัณฑ์)

วิเคราะห์ผลการดำเนินงาน การโฆษณาสถานพยาบาล สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดมุกดาหารมีการดำเนินการ ตรวจสอบการโฆษณาของสถานพยาบาลร่วมกับการตรวจ มาตรฐานสถานพยาบาล รวมทั้งจากข้อมูลข้อร้องเรียนการ โฆษณา ผลการดำเนินงานในรอบที่ 1 คลินิกทันตกรรมซึ่งไม่ได้มีทันต แพทย์ที่รับวุฒิบัตรหรือผ่านการอบรมทางวิชาทันตกรรมจัดฟันมี การโฆษณาว่าจัดฟัน ที่อาจก่อให้เกินความเข้าใจผิดใน สาระสำคัญเกี่ยวกับการประกอบกิจการของคลินิกทันตกรรม จำนวน 2 เรื่อง ได้ดำเนินการแจ้งให้คลินิกทันตกรรมที่โฆษณา ไม่ถูกต้องดำเนินการแก้ไขข้อความในการโฆษณา ซึ่งคลินิกทัน ตกรรมทั้ง 2 แห่ง ได้มีการแก้ไขการโฆษณาเรียบร้อยแล้ว

ข้อเสนอแนะ ควรมีการเฝ้าระวังการโฆษณาให้ครอบคลุมผลิตภัณฑ์ สุขภาพอาหารเสริม และสถานพยาบาลผิดกฎหมาย รวมทั้ง เฝ้าระวังทุกช่องทางสื่อสารสาธารณะที่มีในพื้นที่ ได้แก่ หนังสือพิมพ์ ท้องถิ่น วิทยุท้องถิ่น/ชุมชน และเคเบิ้ลทีวี

เป้าหมายที่ 5 คลินิกเวชกรรมที่ให้บริการด้านเสริมความงาม และคลินิกที่ไม่ได้รับอนุญาตให้ประกอบกิจการสถานพยาบาล ได้รับการเฝ้าระวังและให้ดำเนินการตามกฎหมาย (ร้อยละ 98) ผลสำเร็จ/ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลงาน ร้อยละ 5.1 ร้อยละของคลินิกเวชกรรมที่ให้บริการ ด้านเสริมความงาม ได้รับการตรวจมาตรฐาน (ร้อยละ 98) 5 100 5.2 ร้อยละของเรื่องร้องเรียนคลินิกที่ไม่ได้รับอนุญาตให้ประกอบกิจการสถานพยาบาลได้รับดำเนินการตามกฎหมาย ไม่มีข้อร้องเรียน

วิเคราะห์ผลการดำเนินงาน 1. จังหวัดมุกดาหารมีฐานข้อมูลสถานพยาบาลเอกชน ทุกประเภท จำนวน 51 แห่ง โดยจำแนกเป็นคลินิก เวชกรรม 34 แห่ง (มีคลินิกเวชกรรมที่ให้บริการด้าน เสริมความงาม 5 แห่ง) คลินิกทันตกรรม 5 แห่ง คลินิกเทคนิคการแพทย์ 1 แห่ง และโรงพยาบาล เอกชน 1 แห่ง 2. มีการจัดทําโครงการคุ้มครองผู้บริโภคด้านบริการ สุขภาพ จังหวัดมุกดาหาร งบประมาณ 2558

วิเคราะห์ผลการดำเนินงาน (ต่อ) วิเคราะห์ผลการดำเนินงาน (ต่อ) 3. มีการดำเนินการตรวจสอบสถานพยาบาลเอกชนทุกแห่ง (51 แห่ง) เรียบร้อยแล้วในระหว่างเดือนตุลาคม 2557 – มกราคม 2558 4. มีการดําเนินงานตรวจสอบและเฝ้าระวังคลินิกเวชกรรมและ สถานพยาบาลในพื้นที่ให้มีคุณภาพได้มาตรฐานเพื่อรองรับ พระราชบัญญัติสถานพยาบาล พ.ศ.2541 5. มีช่องทางการรับข้อร้องเรียน 7 ช่องทาง คือ (1) ศูนย์ ONE STOP SERVICE (2) โทรศัพท์ (3) จดหมาย (4) มาด้วยตนเอง (5) สถานบริการสุขภาพ (6) หน่วยงานอื่น ๆ และ (7) สื่อมวลชน

ข้อเสนอแนะ ต่อสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดมุกดาหาร ต่อส่วนกลางและผู้บริหาร 1. ควรมีการจัดทำกระบวนงานการจัดการข้อร้องเรียนที่ชัดเจน และจัดทำ เป็นคู่มือปฏิบัติงานจัดการข้อร้องเรียนเพื่อเป็นมาตรฐานการปฏิบัติงาน (Standard Operating Procedure : SOP) 2. ควรมีการประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนรับรู้ถึงช่องทางการรับเรื่องร้องเรียน และขั้นตอนการรับเรื่องร้องเรียน เพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการ ได้อย่างสะดวก ต่อส่วนกลางและผู้บริหาร 1. ควรมีนโยบายและกำหนดรูปแบบการจัดการข้อร้องเรียนที่ชัดเจน เพื่อให้พื้นทีสามารถนำไปปฏิบัติได้อย่างเป็นระบบและเป็นทิศทาง เดียวกัน 2. จัดทำคู่มือ/แนวทางการเฝ้าระวังสถานพยาบาลและการจัดการข้อ ร้องเรียน เพื่อเป็นแนวปฏิบัติสำหรับพื้นที่ให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน

ด้านสิ่งแวดล้อมสุขภาพ

- มีโครงการ งบประมาณ และแผนการดำเนินงาน(ประชุม 6 ครั้ง) คณะอนุกรรมการสาธารณสุขจังหวัด(อสธจ)ทุกจังหวัด ดำเนินงาน ตามอำนาจหน้าที่และแนวทางที่กำหนดได้อย่างมีประสิทธิภาพ ผลการดำเนินงาน - มีโครงการ งบประมาณ และแผนการดำเนินงาน(ประชุม 6 ครั้ง) ดำเนินงานตามแผนการดำเนินงาน - กำหนดผู้รับผิดชอบงานที่ชัดเจน(ผู้ช่วยเลขานุการฯ) - ประชุมคณะอนุกรรมการสาธารณสุขจังหวัดมุกดาหารครั้งที่ 1/2558 (29 ธ.ค.57) - สำรวจสถานการณ์อนามัยสิ่งแวดล้อมในพื้นที่(ม.ค.58) - พัฒนาศักยภาพเจ้าพนักงานตามกฎหมายสาธารณสุข(2 ก.พ.58)

จุดเด่นในการดำเนินงาน คณะอนุกรรมการสาธารณสุขจังหวัด(อสธจ)ทุกจังหวัด ดำเนินงาน ตามอำนาจหน้าที่และแนวทางที่กำหนดได้อย่างมีประสิทธิภาพ จุดเด่นในการดำเนินงาน - มีกลุ่มงานอนามัยสิ่งแวดล้อมและมีผู้รับผิดชอบที่ชัดเจน มีการดำเนินการอย่างต่อเนื่อง มีการขับเคลื่อนในรูปแบบของภาคีเครือข่าย(ท้องถิ่น) มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั้งในและนอกพื้นที่ ผลักดัน/กระตุ้นให้ท้องถิ่นปฏิบัติตาม พรบ.การสาธารณสุข 2535 ในเรื่องระบบบำบัดสิ่งปฏิกูล ข้อเสนอแนะ จัดทำฐานข้อมูล(สถานการณ์การออกข้อบัญญัติท้องถิ่น/ ทำเนียบเจ้าพนักงานท้องถิ่น) เร่งรัดการออกบัตรเจ้าพนักงานตาม พรบ.การสาธารณสุข 2535