การศึกษาความเป็นไปได้ในการผลิต R-phenylacetylcarbinol จากกากของแข็งที่เหลือจากกระบวนการผลิต ข้าวโพดหวานบรรจุกระป๋อง นายวรายุทธ เนติกานต์ อ.ดร.นพพล เล็กสวัสดิ์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Charoen pokphand foods pcl.
Advertisements

คำขอขึ้นทะเบียน ตามแบบกปม/ทบ2 (ผู้ประกอบการประเภทอื่นๆ)
ประสบการณ์การเขียนหนังสือ-ตำรา
งานผลิตปุ๋ยชีวภาพ เป็นการนำสิ่งเหลือใช้ในชีวิตประจำวันได้แก่เปลือกกล้วยนำมาผสมกับ หัวเชื้อจุลินทรีย์ และกากน้ำตาลในอัตราส่วน เปลือกกล้วย 2 กก.: เชื้อจุลินทรีย์
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ
การถอดความรู้ เรื่องการผลิตสับปะรดโรงงาน
การมีชีวิตอยู่รอดและการก่อโรคของRhizoctonia solani (Khun)ใน ปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพ Survival and Pathogenicity of Rhizoctonia solani(Khun) in Bio-Extract Fertilizer.
วัตถุดิบแหล่งพลังงาน ข้าวและผลิตภัณฑ์จากข้าว
วัตถุดิบแหล่งพลังงาน
วัตถุดิบแหล่งพลังงาน
วัตถุดิบอาหารสัตว์ที่เป็นแหล่งของโปรตีนที่มาจากพืช
ทัศนศึกษาโครงการส่วนพระองค์สวนจิตลดา
ปุ๋ยหมักชีวภาพ Effective Microorganisms
การสร้างพันธุ์ข้าวโพดหวานลูกผสม เพื่ออุตสาหกรรมการเกษตร
การผลิตไฟฟ้าจากขยะ โดยการฝังกลบขยะมูลฝอย
93343 หลักโภชนศาสตร์ และอาหารสัตว์
การวิเคราะห์อาหารสัตว์
อาหารจากเทคโนโลยีชีวภาพสมัยใหม่ และการวิเคราะห์ความเสี่ยง
เทคโนโลยีชีวภาพ เสาวลักษ์ สารรัมย์.
เทคโนโลยีปุ๋ย ปุ๋ย หมายถึง สารหรือสิ่งซึ่งเราใส่ลงไปในดิน เพื่อวัตถุประสงค์ให้ปลดปล่อยธาตุอาหารพืชโดยเฉพาไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม พืชสามารถเจริญเติบโตงอกงามดีและให้ผลิตผลสูงขึ้น.
ปัจจุบันทั่วโลกกำลังประสบปัญหากับวิกฤตการณ์ด้านการขาดแคลนพลังงานและปัญาโลกร้อนจากภาวะเรือนกระจกที่ทุกประเทศต้องร่วมกันแก้ไข ที่ผ่านมาการนำพืชอาหารมาใช้เป็นพลังงานทดแทน.
LOGO 9 เม. ย. 56 คณบดี และ ทีมบริหาร จิบน้ำชา สาย วิชาการ.
การใช้ใบสับปะรดในอาหารผสมเสร็จสำหรับโครีดนม
ภาควิชาพืชไร่ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
การเพิ่มชุดโครโมโซม Polyploidy.
โครงการอบรม เรื่อง การผลิตน้ำส้มสายชูหมักจากข้าว ดร. นันทพร พึ่งสังวร
เทคโนโลยีการแปรรูปขั้นต้นของผักและผลไม้ โดย ผศ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ศูนย์ศึกษาและพัฒนาลำไยหริภุญชัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
การจัดการองค์ความรู้ (KM) การทำนาข้าวโดยไม่เผาตอซัง
วัชพืชที่สำคัญในนาข้าว และการป้องกันกำจัด
ผลของสารสกัดสะเดา ในการป้องกันและกำจัดแมลง
โครงการ ส่งเสริมสินค้าเกษตรปลอดภัย(พืชผัก)
โครงการ ส่งเสริมสินค้าเกษตรปลอดภัย(พืชผัก)
การผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย (พืชผัก)
งานวิจัยของภาควิชากีฏวิทยา
พืชแต่งพันธุ์ต้านทานแมลง
แนวทางการจัดทำ SAR การเตรียมข้อมูล รูปแบบรายงาน การนำเสนอ.
โครงงานคุณธรรมธุรกิจ เรื่องน้ำหมักชีวภาพอเนกประสงค์ คณะผู้จัดทำ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม   โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม อำเภอท่าวังผา.
การบริหารงานมหาวิทยาลัย โดย ศ.ดร.พงษ์ศักดิ์ อังกสิทธิ์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ อธิการบดีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
(B2E Rice Bran Oil and Germ)
บทคัดย่อ ปัญหาที่จะส่งผลกระทบต่องสุขภาพของประชาชนจากแพร่กระจายของเชื้อโรคในน้ำ และมีลักษณะของคลอรีนตกค้างมากเกินไปในเส้นท่อจ่ายน้ำประปา ผู้วิจัยจึงต้องการให้น้ำมีคุณภาพที่ดีขึ้นและเพื่อรักษาแหล่งน้ำไว้
น้ำมันรำข้าวและจมูกข้าว
แนวทางการดำเนินงาน อนามัยสิ่งแวดล้อมในปี 2558
การผลิตสารประกอบอินทรีย์จากลำไยอบแห้งหมดอายุผสมกากน้ำตาล ด้วยจุลินทรีย์ 15 สายพันธุ์ในสภาวะตั้งนิ่ง (The Production of Organic Compounds from Expired Dried.
การบริหารจัดการศัตรูพืชที่สำคัญ โดย
อ.ดร. นพพล เล็กสวัสดิ์ (Dr. Noppol Leksawasdi)
การฝึกงานใน โรงงานอุตสาหกรรม
วันวิชาการมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ครั้งที่ 5 วิถีวิจัย : ทศวรรษ ที่ 5 สู่ความเป็นเลิศ ตติยา คำทิพย์, ฐิติพร ก้านบัว, พนิตนันท์ สิทธิมูล,
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
ชนิดเซลล์รวมในสภาวะเขย่า
การใช้ฝุ่นจากกระบวนการผลิตอาหารสัตว์ เพื่อผลิตแอลกอฮอล์
เรื่อง การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ ผู้จัดทำ นางสาว ดารุณี พรนิคม เลขที่ 13 นางสาว ธนัชพร ภู่มาลา เลขที่ 14 นางสาว นุสรา ไชยโยธา เลขที่ 16 นางสาว.
สารอาหารที่จุลินทรีย์ผลิตแอลกอฮอล์ต้องการ
การอบแห้งข้าวที่ผ่านการเคลือบผิวด้วยสารสกัดจากใบเตยด้วยวิธี ไมโครเวฟ
บทที่ 8 การใช้ประโยชน์จากผลพลอยได้และเศษเหลือทิ้ง
* นมพาสเจอร์ไรส์ : นมที่ผ่านกรรมวิธีฆ่าเชื้อด้วยความร้อน เพื่อลดปริมาณจุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรคให้อยู่ในระดับที่ ปลอดภัย ยับยั้งการทำงานของเอนไซม์ โดยใช้ความร้อนที่
การเกษตร จัดทำโดย ด. ญ. ปุณนภา ปิวศิลป์ เสนอ ครู อรอุมา พงค์ธัญญะดิลก โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน.
การศึกษาความเป็นไปได้ในการผลิต R-phenylacetylcarbinol จากกากของแข็งที่เหลือจากกระบวนการผลิต ข้าวโพดหวานบรรจุกระป๋อง อ.ดร. นพพล เล็กสวัสดิ์ อ. สุภเวท มานิยม.
อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน อ.ดร. นพพล เล็กสวัสดิ์
ปรับวิธีเรียน เปลี่ยนวิธีสอน ปฏิรูปวิธีสอบ
วุ้นมะพร้าว หรือ วุ้นสวรรค์
โดย ครูติดแผ่นดินชา เชียงราย
จังหวัดตาก ( ๑ - ๑๗ ), จังหวัด อุตรดิตถ์ ( ๑ - ๘ )
นางสาวธัญชนก นาคพล ภาควิชา พัฒนาการเกษตร.
1 การผลิตเอทานอลและกรด อินทรีย์ จากลำไยอบแห้ง  นางสาวฐิติพร กัน จันวงศ์  นายณัฐพงษ์ กาละปัน  อ. ดร. นพพล เล็กสวัสดิ์ รหัสโครงการ R50D01001.
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การศึกษาความเป็นไปได้ในการผลิต R-phenylacetylcarbinol จากกากของแข็งที่เหลือจากกระบวนการผลิต ข้าวโพดหวานบรรจุกระป๋อง นายวรายุทธ เนติกานต์ อ.ดร.นพพล เล็กสวัสดิ์ ภาควิชาวิศวกรรมอาหาร คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ทีมงานวิจัย นักศึกษา นายวรายุทธ เนติกานต์ นางสาวธาริณี ทิมาบุตร นักศึกษา นายวรายุทธ เนติกานต์ นางสาวธาริณี ทิมาบุตร อาจารย์พี่เลี้ยง อ.ดร.นพพล เล็กสวัสดิ์ อ.สุภเวท มานิยม โรงงาน บริษัทลำปางฟู้ดส์

บทนำและวัตถุประสงค์ บริษัทส่งออกผลิตภัณฑ์ข้าวโพดหวาน (sweet corn) มากถึง 800 ตู้ในปี พ.ศ. 2549 มีกากของแข็งในรูปของเศษเมล็ดและซังข้าวโพดเป็นจำนวนมาก เป้าหมายโครงการ เพื่อศึกษาสัดส่วนความเข้มข้นของกากข้าวโพดต่อน้ำกลั่นนและแหล่งเอนไซม์ที่เหมาะสมสำหรับการเตรียม glucose hydrolysate เพื่อศึกษาเวลาในการ inoculate หัวเชื้อจุลินทรีย์และศึกษาประสิทธิภาพการผลิต R-phenylacetylcarbinol (PAC) จากหัวเชื้อจุลินทรีย์ 15 สายพันธุ์ที่มีความสามารถในการผลิตเอทานอลจากอาหารเลี้ยงเชื้อที่มีแหล่งอาหารคาร์บอนเป็นกากของแข็งที่ผ่านกระบวนการย่อยด้วยเอนไซม์อะไมเลสจากการศึกษาขั้นแรก

การทดลอง ศึกษาสัดส่วนความเข้มข้นของกากข้าวโพดต่อน้ำกลั่นและแหล่งเอนไซม์ (Commercial & Analytical Grade) ที่เหมาะสม ศึกษาเวลาที่เหมาะสม (24, 48 และ 72 h) ในการ inoculate หัวเชื้อจุลินทรีย์และความสามารถในการผลิต PAC จากหัวเชื้อจุลินทรีย์ 15 สายพันธุ์ที่ใช้ glucose hydrolysate จากการย่อยกากข้าวโพด ผลกระทบของแหล่งอาหารคาร์บอนที่มีส่วนผสมระหว่างสารสกัดที่ได้จากการย่อยเศษข้าวโพดบดด้วยเอนไซม์อะไมเลส และสารละลาย โมลาซเข้มข้น ต่อการเจริญของเชื้อจุลินทรีย์ 15 สายพันธุ์ที่ใช้ glucose hydrolysate จากการย่อยกากข้าวโพด

สัดส่วนผงกากของแข็ง:น้ำกลั่นที่เหมาะสม ผลการทดลอง สายสิริ (2545) a-amylase 80degC 1 h, 60 degC 2 h Glucoamylase

โครมาโตแกรมของตัวอย่าง ผลการทดลอง HPLC Analysis

สัดส่วนผงกากของแข็ง:น้ำกลั่นที่เหมาะสม ผลการทดลอง HPLC Analysis

สัดส่วนผงแป้งข้าวโพด:น้ำกลั่นที่เหมาะสม ผลการทดลอง HPLC Analysis

Inoculation time selection

Inoculation time selection

100 ml Production

100 ml Production

100 ml Production

Biotransformation

Thank you