งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน อ.ดร. นพพล เล็กสวัสดิ์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน อ.ดร. นพพล เล็กสวัสดิ์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน อ.ดร. นพพล เล็กสวัสดิ์
“การผลิต R-phenylacetylcarbinol และสารผลิตภัณฑ์ข้างเคียงด้วยลำไยอบแห้ง ในระบบเบนซาลดีไฮด์อิมัลชั่น ” รายชื่อคณะผู้จัดทำ นาวสาวพูนศิริ พระทอง รหัส นางสาวอุทุมพร อภิวงค์งาม รหัส นางสาวกิติยา แลวงศ์นิล รหัส อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน อ.ดร. นพพล เล็กสวัสดิ์

2 ความสำคัญและที่มาของโครงงาน
ลำไยสดมีคาร์โบไฮเดรต 25%(w/w) รวมถึงโปรตีนและวิตามินต่างๆ ที่เอื้อต่อการเจริญของเชื้อจุลินทรีย์ในการหมัก เมื่อผ่านการทำแห้ง ความเข้มข้นของน้ำตาลจะเพิ่มขึ้นเพราะความชื้นถูกกำจัดออกไปมาก ทั้งนี้ยังขึ้นกับปฏิกิริยาเมลลาร์ด (Maillard reaction) ณ อุณหภูมิสูง (> 65OC) ที่เปลี่ยนน้ำตาลและกรดอะมิโนเป็นเมลานอยดินส์ (melanoidins) ปัญหาการกำจัดลำไยอบแห้งตกเกรดหรือหมดอายุที่ยังขาดประสิทธิภาพ และการขาดแคลนงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการนำลำไยอบแห้งที่ขายไม่ได้ไปทำประโยชน์ต่อ เช่น ผลิตสารเคมี R-PAC สำหรับยาบรรเทาอาการหวัดอย่าง pseudoephedrine ทั้งที่ลำไยเป็นพืชเศรษฐกิจของประเทศไทย จึงเป็นที่มาของโครงการวิจัยนี้

3 บทนำ

4 บทนำ

5 วัตถุประสงค์การทดลอง
เพื่อศึกษาการเจริญของกล้าเชื้อจุลินทรีย์ 15 สายพันธุ์ ในอาหารเลี้ยงปริมาตร 10 ml ที่มีกลูโคสเป็นแหล่งอาหารคาร์บอน โดยใช้เวลาเพาะเลี้ยง 72 ชั่วโมง ณ 25.6OC แล้วนำผลที่ได้ไปเปรียบเทียบกับทีมวิจัย ของกลุ่มฐิติพรและคณะ (24 h) และ พรรณทิวาและคณะ (48 h) จากนั้นจึงเลือกเวลาเพาะเลี้ยงที่เหมาะสมที่สุด เพื่อศึกษาการเจริญของเชื้อจุลินทรีย์ 15 สายพันธุ์ ในอาหารเลี้ยงปริมาตร 100 ml ที่มีสารสกัดจากลำไยอบแห้งเป็นแหล่งอาหารคาร์บอนเพียงอย่างเดียว เพาะเลี้ยง เป็นเวลา 48 ชั่วโมง ณ 25.6OC นำมวลชีวภาพที่ได้จาการทดลองที่ 2 ไปใช้ผลิต R-phenylacetylcarbinol จากไพรูเวตและเบนซาลดีไฮด์ สำหรับระบบเบนซาลดีไฮด์อิมัลชั่น ในสารละลายฟอสเฟตบัฟเฟอร์ความเข้มข้นต่างๆ

6 วิธีการทดลอง การทดลองที่ 1 เพาะเลี้ยงกล้าเชื้อเป็นเวลา 72 ชั่วโมง
เพาะเลี้ยงกล้าเชื้อจุลินทรีย์ 15 สายพันธุ์ในอาหารเลี้ยงเชื้อที่มีกลูโคสเป็นแหล่งอาหารคาร์บอน ทำการวิเคราะห์ มวลแห้ง pH น้ำตาลกลูโคส เอทานอล กรดอะซิติก และ กรดซิตริก ด้วย HPLC

7 วิธีการทดลอง การทดลองที่ 2

8 วิธีการทดลอง (การเก็บตัวอย่างสำหรับการทดลองที่ 2)

9 วิธีการทดลอง การทดลองที่ 3
ศึกษาผลกระทบของความเข้มข้นสารละลายฟอสเฟต 4 ระดับ (0, 300, 600 และ 900 mM)(10 ml) ต่อระดับการผลิต PAC จาก S. cerevisiae TISTR No และ 5020, Z. mobilis TISTR No. 550 และ C. utilis TISTR No ( g มวลแห้ง/ L ) ในสภาวะที่มีเบน-ซาลดีไฮด์ความเข้มข้น 150 mM (0.159 g ) โซเดียมไพรูเวตความเข้มข้น 180 mM (0.198 g ) TPP ความเข้มข้น 1 mM ( g ) MgSO4.7H2O ความเข้มข้น 1 mM (( g ) ตั้งนิ่งทิ้งไว้ 8 ชั่วโมง อุณหภูมิ 4 OC โดยแต่ละการทดลองทำซ้ำ 2 ครั้ง หยุดการทดลองด้วย 100%(w/v) TCA ปริมาตร 1 ml แล้วเก็บรักษาไว้ตู้แช่เยือกแข็งอุณหภูมิ -20 OC

10 เลี้ยงกล้าเชื้อเป็นเวลา 72 ชั่วโมง โดยใช้กลูโคสเป็นแหล่งอาหารคาร์บอน
ผลการทดลอง เลี้ยงกล้าเชื้อเป็นเวลา 72 ชั่วโมง โดยใช้กลูโคสเป็นแหล่งอาหารคาร์บอน

11

12

13 เลี้ยงเชื้อเป็นเวลา 48 ชั่วโมง โดยมีสารสกัดจากลำไยอบแห้ง
ผลการทดลอง เลี้ยงเชื้อเป็นเวลา 48 ชั่วโมง โดยมีสารสกัดจากลำไยอบแห้ง เป็นแหล่งอาหารคาร์บอน

14

15

16

17

18

19

20

21

22 ตัวอย่างโครมาโตแกรม 0 h S. cerevisiae TISTR 5020 48 h fructose sucrose
glucose S. cerevisiae TISTR 5020 ethanol 48 h fructose Propanoic acid sucrose Acetic acid

23 ตัวอย่างโครมาโตแกรม 0 h S. cerevisiae TISTR 5606 48 h fructose sucrose
glucose S. cerevisiae TISTR 5606 ethanol 48 h fructose Propanoic acid sucrose Acetic acid

24

25

26 ผลการทดลองไบโอทรานส์ฟอร์เมชั่นในระบบเบนซาลดีไฮด์อิมัลชั่น
กำลังอยู่ในระหว่างการวิเคราะห์ ค่ากิจกรรมการทำงานของ PDC ด้วย spectrophotometric decarboxylase assay ไพรูเวต และ อะเซตาลดีไฮด์ ใช้เครื่อง spectrophotometer กรดเบนโซอิก และ สาร PAC ด้วย HPLC C8 อะเซโตอิน ด้วยเครื่อง HPLC HPX 87H pH ด้วย pH meter

27 สรุปผลการทดลอง ลำดับของจุลินทรีย์ในแหล่งอาหารคาร์บอนมีกลูโคสที่ผลิตเอทานอลได้มากที่สุดในหน่วย g/l และ Yps ภายหลังการเพาะเลี้ยงกล้าเชื้อ 72 h ได้แก่ Z. mobilis TISTR 405 (10.6  0.53, 0.54  0.04) S. cerevisiae TISTR 5020 (4.54  0.23, 0.45  0.03) S. cerevisiae TISTR 5606 (3.56  0.18, 0.44  0.04) E. coli TISTR 1261 ผลิตเอทานอลได้ถึง 4.18  0.21 g/l แม้จะไม่มีแหล่งอาหารคาร์บอนใน nutrient medium ในกรณีใช้แหล่งอาหารคาร์บอนเป็นสารสกัดจากลำไยอบแห้งเพียงอย่างเดียว ลำดับการผลิตเอทานอลสามอันดับแรก (g/l) ภายหลังการเพาะเลี้ยงเชื้อเป็นเวลา 48 h ดังต่อไปนี้ * S. cerevisiae TISTR 5020 ( 45.0  6.1 ) * S. cerevisiae TISTR 5606 ( 37.8  3.1 ) Z. mobilis TISTR 550 ( 28.4  5.1 ) * ทดสอบโดย Skoog et al พบว่าค่าเฉลี่ยที่ได้ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%

28 Q&A


ดาวน์โหลด ppt อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน อ.ดร. นพพล เล็กสวัสดิ์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google