การศึกษาความเป็นไปได้ในการผลิต R-phenylacetylcarbinol จากกากของแข็งที่เหลือจากกระบวนการผลิต ข้าวโพดหวานบรรจุกระป๋อง นายวรายุทธ เนติกานต์ อ.ดร.นพพล เล็กสวัสดิ์ ภาควิชาวิศวกรรมอาหาร คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ทีมงานวิจัย นักศึกษา นายวรายุทธ เนติกานต์ นางสาวธาริณี ทิมาบุตร นักศึกษา นายวรายุทธ เนติกานต์ นางสาวธาริณี ทิมาบุตร อาจารย์พี่เลี้ยง อ.ดร.นพพล เล็กสวัสดิ์ อ.สุภเวท มานิยม โรงงาน บริษัทลำปางฟู้ดส์
บทนำและวัตถุประสงค์ บริษัทส่งออกผลิตภัณฑ์ข้าวโพดหวาน (sweet corn) มากถึง 800 ตู้ในปี พ.ศ. 2549 มีกากของแข็งในรูปของเศษเมล็ดและซังข้าวโพดเป็นจำนวนมาก เป้าหมายโครงการ เพื่อศึกษาสัดส่วนความเข้มข้นของกากข้าวโพดต่อน้ำกลั่นนและแหล่งเอนไซม์ที่เหมาะสมสำหรับการเตรียม glucose hydrolysate เพื่อศึกษาเวลาในการ inoculate หัวเชื้อจุลินทรีย์และศึกษาประสิทธิภาพการผลิต R-phenylacetylcarbinol (PAC) จากหัวเชื้อจุลินทรีย์ 15 สายพันธุ์ที่มีความสามารถในการผลิตเอทานอลจากอาหารเลี้ยงเชื้อที่มีแหล่งอาหารคาร์บอนเป็นกากของแข็งที่ผ่านกระบวนการย่อยด้วยเอนไซม์อะไมเลสจากการศึกษาขั้นแรก
การทดลอง ศึกษาสัดส่วนความเข้มข้นของกากข้าวโพดต่อน้ำกลั่นและแหล่งเอนไซม์ (Commercial & Analytical Grade) ที่เหมาะสม ศึกษาเวลาที่เหมาะสม (24, 48 และ 72 h) ในการ inoculate หัวเชื้อจุลินทรีย์และความสามารถในการผลิต PAC จากหัวเชื้อจุลินทรีย์ 15 สายพันธุ์ที่ใช้ glucose hydrolysate จากการย่อยกากข้าวโพด ผลกระทบของแหล่งอาหารคาร์บอนที่มีส่วนผสมระหว่างสารสกัดที่ได้จากการย่อยเศษข้าวโพดบดด้วยเอนไซม์อะไมเลส และสารละลาย โมลาซเข้มข้น ต่อการเจริญของเชื้อจุลินทรีย์ 15 สายพันธุ์ที่ใช้ glucose hydrolysate จากการย่อยกากข้าวโพด
สัดส่วนผงกากของแข็ง:น้ำกลั่นที่เหมาะสม ผลการทดลอง สายสิริ (2545) a-amylase 80degC 1 h, 60 degC 2 h Glucoamylase
โครมาโตแกรมของตัวอย่าง ผลการทดลอง HPLC Analysis
สัดส่วนผงกากของแข็ง:น้ำกลั่นที่เหมาะสม ผลการทดลอง HPLC Analysis
สัดส่วนผงแป้งข้าวโพด:น้ำกลั่นที่เหมาะสม ผลการทดลอง HPLC Analysis
Inoculation time selection
Inoculation time selection
100 ml Production
100 ml Production
100 ml Production
Biotransformation
Thank you