มลพิษน้ำการป้องกัน 2.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
น้ำทิ้ง คือ น้ำที่ใช้แล้วและถูกปล่อยทิ้งลงแหล่งน้ำ ซึ่งอาจได้รับการบำบัดหรือไม่ก็ได้ ทั้งนี้น้ำทิ้งต้องมีคุณภาพได้ตามมาตรฐานน้ำทิ้ง หลายหน่วยงานที่มีการประกาศใช้มาตรฐานคุณภาพน้ำทิ้งจากแหล่งต่างๆ.
Advertisements

Department of Chemistry Mahidol wittayanusorn School
การเปลี่ยนสีของสารละลายบรอมไทมอลบลูซึ่งเกิดจากการหมักของยีสต์
การจัดการของเสีย โดยวิธีทำให้เป็นก๊าซชีวภาพ
โดย วราภรณ์ ถาวรวงษ์ นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ ศูนย์อนามัยที่๑.
กรด-เบส (acid-base) คริษฐา เสมานิตย์.
ลักษณะของระบบนิเวศ Succession /Development ecosystem
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม สิ่งแวดล้อม หมายถึง สิ่งที่อยู่รอบ ๆ ตัวเรา มีทั้งสิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิต สิ่งมีชีวิตมีความสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมทั้งสิ่งมีชีวิตด้วยกันและกับสิ่งไม่มีชีวิต.
ครูผู้สอน นางสาวกมลรัตน์ ฉิมพาล KruPumBIO
ภาวะโลกร้อน (Global Warming).
ภาวะโลกร้อน [ Global Warming ]
วิชายาและการใช้ยาสัตว์ (Animal Drugs and Usage) รหัสวิชา
นิยามศัพท์ทางด้านอาหารสัตว์ และการจำแนกวัตถุดิบอาหารสัตว์
สารกระตุ้นสมรรถภาพการผลิต
การศึกษาชีววิทยา.
สารอนินทรีย์ (Inorganic substance)
C10H8 + 12O2  10CO2 + 4H2O The Types of Chemical Reaction
ไฮโดรโปนิกส์ Hydroponics.
Ecology นิเวศวิทยา Jaratpong moonjai.
บทที่ 3 ทรัพยากรดิน.
การเสื่อมเสียของอาหาร
สิ่งแวดล้อมรอบตัว.
การผลิตไฟฟ้าจากขยะ โดยการฝังกลบขยะมูลฝอย
บทที่ 2 ECOSYSTEM ระบบนิเวศ “ECOSYSTEM” หรือ “ECOLOGICAL SYSTEM”
1. การจัดแยกประเภทของเสียในห้องปฏิบัติการ 2
ENZYME.
Chemical Properties of Grain
การพัฒนาระบบ การตรวจวิเคราะห์ทางวิทยาศาสตร์ ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม
สารมลพิษ โชคชัย บุตรครุธ.
การจัดหาน้ำสะอาด อ.วีระศักดิ์ สืบเสาะ.
การบำบัดน้ำเสีย อ.วีระศักดิ์ สืบเสาะ.
เทคโนโลยีชีวภาพ แก๊สชีวภาพ นำเสนอโดย 1. นายทรงศักดิ์ ศรีสันติสุข 2
ความอุดมสมบูรณ์ของดินกับการเจริญเติบโตของพืช
เทคโนโลยีปุ๋ย ปุ๋ย หมายถึง สารหรือสิ่งซึ่งเราใส่ลงไปในดิน เพื่อวัตถุประสงค์ให้ปลดปล่อยธาตุอาหารพืชโดยเฉพาไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม พืชสามารถเจริญเติบโตงอกงามดีและให้ผลิตผลสูงขึ้น.
การจัดการน้ำเสียจากฟาร์มสุกร โดยใช้เทคโนโลยีชีวภาพ
ผู้สอน: อ.วิจิตต์ วรรณชิต
สารอาหารที่ถูกมองข้าม
เชื้อ Aeromonas hydrophila ที่ก่อโรคในปลาน้ำจืด
บทปฏิบัติการที่ 5 PLANT TISSUE ANALYSIS.
โครงการพัฒนามาตรฐานการจัดทำฉลากเคมีภัณฑ์
สามารถดำรงสภาวะแวดล้อมที่เหมาะสมสำหรับแต่ละกลุ่มของจุลินทรีย์ได้
คัมภีร์ โพธิพงษ์ และ พัชรี คำธิตา
การจัดการน้ำ WATER MANAGEMENT.
เอนไซม์ ( Enzyme ) เอนไซม์ คือ ตัวเร่งปฏิกิริยาทางชีวภาพ เป็นสารประกอบพวกโปรตีน เอนไซม์จะเร่งเฉพาะชนิดของปฏิกิริยา และชนิดของสารที่เข้าทำปฏิกิริยา เอนไซม์บางชนิด.
ไฮโดรโปนิกส์ (Hydroponics)
สารประกอบ.
อาหารหลัก 5 หมู่ โดย นางสาวฉัตรสุดา มงคลโภชน์
บทที่ 1 บทนำ(Introduction)
การใช้สารเคมี สมาคมอารักขาพืชไทย ได้ถือกำเนิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ ใช้ชื่อในขณะนั้นว่า “ สมาคม ผู้ประกอบธุรกิจสารเคมีกำจัดศัตรูพืช : ส.ธ.ก. ( Thai Pesticide.
ศูนย์บริหารศัตรูพืชจังหวัดสงขลา กรมส่งเสริมการเกษตร
พืชแต่งพันธุ์ต้านทานแมลง
( Natural farming) เกษตรธรรมชาติ.
ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
8.5 คุณภาพน้ำ ….. แบ่งออกเป็น 3 ด้าน
ดร. บัณฑิตย์ เต็งเจริญกุล
มาตรฐานฟาร์มเลี้ยงสัตว์
ดินเปรี้ยว ดินเปรี้ยว หรือดินกรด (Acid soil) หมายถึง ดินที่มีค่า pH วัดได้ต่ำกว่า 7.0 ดังนั้น ดินเปรี้ยวจัด (Acid sulfate soil) จึงเป็นดินเปรี้ยวหรือดินกรดชนิดหนึ่ง.
เรื่อง : โรคของดินที่ควรเฝ้าระวัง
อาหารปลอดภัยด้านประมง
การเจริญเติบโตของพืช
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศกรมเจ้าท่าที่ 44/2554 เรื่อง กำหนดมาตรฐานควบคุมการระบาย น้ำทิ้งจากบ่อเลี้ยงสัตว์น้ำจืด ประกาศในราชกิจจานุเบกษา.
สารอาหารที่จุลินทรีย์ผลิตแอลกอฮอล์ต้องการ
ใช้มากเกินความจำเป็น
* นมพาสเจอร์ไรส์ : นมที่ผ่านกรรมวิธีฆ่าเชื้อด้วยความร้อน เพื่อลดปริมาณจุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรคให้อยู่ในระดับที่ ปลอดภัย ยับยั้งการทำงานของเอนไซม์ โดยใช้ความร้อนที่
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่องกำหนดมาตรฐานควบคุมการระบายน้ำทิ้ง จากระบบบำบัดน้ำเสียรวมของชุมชน ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่ 2 มิถุนายน.
การเกษตร จัดทำโดย ด. ญ. ปุณนภา ปิวศิลป์ เสนอ ครู อรอุมา พงค์ธัญญะดิลก โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน.
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กำหนดมาตรฐานควบคุมการปล่อยทิ้งสารเบนซีน และสาร 1, 3 - บิวทาไดอีน จากโรงงานอุตสาหกรรมเคมี ประกาศในราชกิจจานุเบกษา.
พืชแต่งพันธุ์ต้านทานสารกำจัดวัชพืช Herbicide Tolerant Plant
มลภาวะ (pollution).
ใบสำเนางานนำเสนอ:

มลพิษน้ำการป้องกัน 2

การบำบัดน้ำเสียด้วยกระบวน การทางชีววิทยา

กระบวนการบำบัดน้ำเสียทางชีววิทยา กระบวนการบำบัดน้ำเสียทางชีววิทยาวัตถุประสงค์เพื่อบำบัดน้ำเสียที่มีการปนเปื้อนสารอินทรีย์ที่ละลายน้ำหรือแขวนลอยอยู่ในน้ำ โดยใช้จุลินทรีย์หลายๆชนิด ซึ่ง จุลินทรีย์ที่มีบทบาทสำคัญได้แก่แบคทีเรีย

การบำบัดน้ำเสียด้วยกระบวนการทางชีววิทยา ในการบำบัดน้ำเสียด้วยกระบวนการทางชีววิทยาสิ่งที่ควรคำนึง 1. ถังปฎิกริยา (Reactor) 2. การควบคุมสภาวะแวดล้อม 3. การกำจัดจุลินทรีย์

กระบวนการบำบัดน้ำเสียทางชีววิทยา กระบวนการบำบัดน้ำเสียทางชีววิทยาแบ่งตาม สิ่งแวดล้อมทางชีวเคมี แบ่งได้เป็น 2 ประเภท 1. กระบวนการแอโรบิก (Aerobic Process) มีออกซิเจน ละลายเพียงพอ 2. กระบวนการแอนแอโรบิก (Anaerobic Process) ไม่มี ออกซิเจนละลาย

กระบวนการบำบัดน้ำเสียทางชีววิทยา ในการย่อยสลายสารอินทรีย์ด้วยปฏิกิริยาทางชีวเคมี จุลินทรีย์จะต้องสร้างเอนไซม์หลายชนิดมาใช้ในการย่อยสลาย สารอินทรีย์ต่างๆ จนกระทั่งผลผลิตสุดท้ายเป็นก๊าซ การ ย่อยสลายโดยใช้ปฏิกิริยาทางชีวเคมีอาจใช้หรือไม่ใช้ออกซิเจนซึ่ง ขึ้นกับสภาพแวดล้อมของการบำบัดน้ำเสีย

สิ่งแวดล้อมทางชีวเคมี โดยปฏิกิริยาทั้ง 2 ประเภทมีกลไกพื้นฐาน ร่วมกันคือเป็นปฏิกิริยาชีวเคมีแบบออกซิเดชัน-รีดัคชัน ( Redox reaction) เป็นปฏิกิริยาที่มีการถ่ายเทอิเล็กตรอน โดยสารอินทรีย์ในน้ำเสียจะเป็นสารให้อิเล็กตรอน และสาร อื่นเป็นตัวรับอิเล็กตรอน

สิ่งแวดล้อมทางชีวเคมี ถ้าสารรับอิเล็กตรอนเป็นออกซิเจนปฏิกิริยาที่ เกิดจะเป็นแบบ Aerobic oxidation แต่ถ้าสารอื่นๆ (สารอนินทรีย์) เช่น CO2 NO-3 SO-24 เป็นต้น เป็นสารรับอิเล็กตรอนปฏิกิริยาที่เกิด จะเป็นแบบ Anaerobic oxidation

กระบวนการแอโรบิก (Aerobic process) ในกระบวนการนี้สภาพแวดล้อมต้องมีออกซิเจนละลาย จำนวนเพียงพอ จนไม่เป็นตัวจำกัดอัตราการทำปฏิกิริยา โดย ออกซิเจนจะเป็นตัวรับอิเลคตรอนตัวสุดท้าย (terminal electron acceptor) (CH2O)n + 6O2 6CO2 + 6H2O + จุลินทรีย์ + เกลือแร่

กระบวนการแอนแอโรบิก (Anaerobic process) กระบวนการบำบัดทางชีววิทยาแบบไร้อากาศเป็นกระบวนการ ย่อยสลายอินทรีย์สารภายใต้สภาพแวดล้อมไร้อากาศ โดยอาศัย จุลินทรีย์หลายกลุ่มทำงานร่วมกัน

การควบคุมสภาวะแวดล้อม การควบคุมสภาวะแวดล้อมของน้ำเสีย เนื่องจาก จุลินทรีย์ส่วนใหญ่ที่ใช้ในกระบวนการบำบัดน้ำเสียจะเป็นแบคทีเรีย ในกลุ่มที่เป็น heterotroph ดังนั้นจึงต้องควบคุมให้เหมาะสมต่อการ เจริญเติบโตของแบคทีเรียพวกนี้ ไม่เช่นนั้นจุลินทรีย์ชนิดอื่นจะมา เจริญซึ่งอาจก่อให้เกิดปัญหา ปัจจัยที่เกี่ยวข้องเช่น

การควบคุมสภาวะแวดล้อม 1. สภาวะความเป็น กรด ด่าง (pH) 2. สภาวะมีออกซิเจนอิสระหรือไม่มีออกซิเจนอิสระ 3. การควบคุมแร่ธาตุสารอาหาร 4. การควบคุมสารพิษหรือเกลือแร่บางชนิด 5. การควบคุมอุณหภูมิให้เหมาะสมต่อการเจริญเติบโต

สภาวะแวดล้อมที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตในระบบ Aerobic Process 1. สภาพแวดล้อมมีออกซิเจนเพียงพอ ออกซิเจนอาจได้มา จากการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช หรือเกิดจากการถ่ายเทระหว่าง น้ำกับอากาศ หรือเกิดจากการอัดอากาศเข้าสู่น้ำเสียโดยตรง 2. pH 6.5- 8.5 3. อุณหภูมิไม่ควรเกิน 40 องศา เซลเซียส

4. ธาตุอาหารเสริมที่จำเป็นในการสร้างเซลล์ จุลินทรีย์ BOD:N:P 100:5:1 นอกจากนี้ต้องมีธาตุ Ca K Mg Fe 5. ต้องไม่มีสารพิษ เช่น โลหะหนัก ยาฆ่าแมลง เป็นต้น

สภาวะแวดล้อมที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตในระบบ Anaerobic Process 1. ต้องไม่มีออกซิเจนอิสระ ถ้ามีอาจทำให้ระบบ ล้มเหลว หรือประสิทธิภาพลดลง 2. pH 6.6- 7.4 ถ้า pH < 6.5 ประสิทธิภาพการ ทำงานของ จุลินทรีย์ที่สร้างมีเทนจะลดลงอย่างมาก แต่ถ้า < 5 จะยับยั้งการเจริญเติบโตและตาย 3. เนื่องจากในระบบจะมีจุลินทรีย์ 2 ประเภท จึง ควบคุมระบบที่อุณหภูมิ 30-38 องศาเซลเซียส และ 48- 57 องศา เซลเซียสตามประเภทจุลินทรีย์

4. กรดอินทรีย์และค่าความเป็นด่างจะต้องรักษา ให้อยู่ในสภาวะที่สมดุล ถ้ามีการสะสมของกรดอินทรีย์จะทำให้ ระบบล้มเหลว 5. ธาตุอาหารเสริมที่จำเป็นในการสร้างเซลล์ จุลินทรีย์ BOD:N:P 100:1.1:0.2 นอกจากนี้ต้องมีธาตุ Ca K Mg Fe 5. ต้องไม่มีสารพิษ เช่น โลหะหนัก เป็นต้น