ใช้สำหรับการปฏิบัติงานตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2553 เป็นต้นไป

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
GES : มิติภายในด้านการพัฒนาองค์การ
Advertisements

หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติการยืมเงินทดรองจ่ายเงินรายได้
งานบริหารงานบุคคล กองการเจ้าหน้าที่ สำนักงานอธิการบดี หน้า ๑
การบริหารจัดการเพื่อ พัฒนาผลการปฏิบัติงาน
แนวทางการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตาม พ. ร. บ
โครงการฝึกอบรม การบริหารทรัพยากรบุคคล เชิงยุทธศาสตร์การพัฒนา จังหวัดอุดรธานี วันที่ ๑๙ มีนาคม ๒๕๕๖ ณ โรงแรมต้นคูณ อำเภอเมืองอุดรธานี
มาตรการพัฒนาและบริหารกำลังคน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพระบบราชการ
เอกสารประกอบการบรรยาย เรื่อง การประเมินบุคคล
ระยะเวลาการประเมิน ตั้งแต่วันที่ ๑ ตุลาคม พ. ศ. ๒๕๕๓ ถึงวันที่ ๓๐ กันยายน พ. ศ. ๒๕๕๔.
แนวทางการประเมินผล การปฏิบัติงานของบุคลากรทุกระดับ
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ
หลักเกณฑ์และแนวทางการประเมินผลการปฏิบัติราชการเพื่อเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ ในสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา หลักเกณฑ์การประเมินและวิธีการประเมินผลการปฏิบัติ
ระดับความสำเร็จของ การควบคุมภายใน
หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผล การปฏิบัติราชการข้าราชการและ พนักงานราชการกรมควบคุมโรคประจำปีงบประมาณ 2557.
การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตาม ตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการ วันที่ 29 มกราคม 2551.
การถ่ายทอดตัวชี้วัดลงสู่ระดับสำนัก/กอง และระดับบุคคล
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
เลื่อนขั้นค่าตอบแทน และค่าตอบแทนพิเศษ พนักงานราชการ.
คุณภาพการประเมินนักเรียนและสถานศึกษา เพื่อรับรางวัลพระราชทาน
บทที่ 2 โครงการอบรม/สัมมนา.
ชี้แจงการประเมินผลการปฏิบัติงาน
ชี้แจงการประเมินผลการปฏิบัติงาน
แบบประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลการปฏิบัติงานของบุคลากรสภากาชาดไทย
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการ
กฎ ก.พ. ว่าด้วยการทดลองปฏิบัติหน้าที่
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
ระบบบริหารผลการปฏิบัติงาน Performance Management System: PMS และ หลักการจัดทำแผนพัฒนารายบุคคล Individual Development Plan : IDP.
ผลงาน ความรู้ ความคิดของผู้เรียน ทักษะ การปฏิบัติ ของผู้เรียน คุณลักษณะ ค่านิยม คุณธรรม ของผู้เรียน.
การเสนอกระบวนงานบริการเพื่อขอรับการประเมิน
แนวคิด หลักการ ของการประเมินเพื่อการพัฒนา
แนวทางการดำเนินงานโครงการสำคัญ ปีงบประมาณพ.ศ.2554 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
ผศ.ดร.กัลยาณี คูณมี ทีมที่ปรึกษาสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
2 ผลการดำเนินงาน รอบ 9 เดือน ตัวชี้วัด / ข้อมูลพื้นฐาน ประกอบ ตัวชี้วัด น้ำหนั ก ( ร้อย ละ ) ผลการ ดำเนินงา น ค่า คะแนน ที่ได้ ค่า คะแนน ถ่วง น้ำหนัก.
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
การประชุมชี้แจงสาระสำคัญของประกาศ คพร.
ผู้รับผิดชอบ : สำนักงาน ก.ก.
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายใน
การกำหนดเกณฑ์ ประเมินคุณภาพภายใน
การเลื่อนเงินเดือนในระบบใหม่
การลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติราชการ และการพิจารณาให้รางวัลคุณภาพ
แผนภูมิการประเมินผลปฏิบัติราชการ ตาม พ. ร. บ. ระเบียบราชการพลเรือน พ. ศ.2551 ของ สำนักงานเกษตรจังหวัด เชียงราย คำรับรองปฏิบัติ ราชการกรมส่งเสริม รับรองปฏิบัติราชการ.
ให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้อำนวยการชำนาญการพิเศษ
การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ และเลื่อนขั้นค่าจ้างลูกจ้างประจำ
“สมุดบันทึกผลงานและ คุณงามความดีของข้าราชการ”
แนวทางการบริหารพนักงานกระทรวงสาธารณสุข กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
“การถ่ายทอดตัวชี้วัด จากระดับองค์กรลงสู่ระดับบุคคล”
หลักเกณฑ์และแนวทางการประเมินผลการปฏิบัติราชการ เพื่อเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ ในสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา หลักเกณฑ์การประเมินและวิธีการประเมินผลการ.
การพิจารณาเลื่อนขั้นเงินเดือน/ ค่าจ้างประจำ
การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
การประเมินผลการปฏิบัติราชการตามหลักเกณฑ์ และวิธีการที่ ก. พ
แบบประเมินผลสัมฤทธิ์ของงาน คะแนนตามระดับค่าเป้าหมาย
แนวทางการประเมินผลงาน ทางวิชาการ
บทสรุปสำหรับผู้บริหาร Executive Summary
ขั้นตอนการประเมินลูกจ้างชั่วคราวเงินบำรุง
ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ
การประเมินค่างาน ดร. สุจิตรา ธนานันท์.
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
เอกสารประกอบการประชุมคณะทำงานเพื่อจัดทำ ตัวชี้วัดและระบบการบริหาร ผลการ ปฏิบัติราชการ ของสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อ เกษตรกรรม สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม.
สำนักงาน ก.พ. ที่ นร ๑๐๑๒/ว ๒๐ ถนนพิษณุโลก กทม. ๑๐๓๐๐ ๓ กันยายน ๒๕๕๒
ผู้รับผิดชอบ : สำนักงาน ก.ก.
ระเบียบกระทรวงการคลังวาดวยการเลื่อนขั้นคาจางลูกจางประจําของ
 หมวด 1 การสรรหา การบรรจุ และ การแต่งตั้ง  หมวด 2 การเรียกประกัน  หมวด 3 การเลื่อนขั้นเงินเดือนหรือ ค่าจ้างของผู้ปฏิบัติงาน  หมวด 4 การพ้นจากตำแหน่งและ.
หลักการเขียนโครงการ.
การพัฒนาระบบการประเมินผลตัวชี้วัด แผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ปี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน นายแชน อะทะไชย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
รางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ (Thailand Public Service Awards)
สรุปสาระสำคัญของหลักเกณฑ์และ วิธีการประเมินเพื่อเปลี่ยนสถานภาพ เป็นพนักงานมหาวิทยาลัย (ตามประกาศมหาวิทยาลัยเชียงใหม่เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินเพื่อ.
กลุ่ม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลการปฏิบัติงาน ของลูกจ้างประจำ ใช้สำหรับการปฏิบัติงานตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2553 เป็นต้นไป หลักการประเมินฯอยู่บนพื้นฐานของผลสำเร็จและผลสัมฤทธิ์ของงานเป็นหลัก โดยกำหนดตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงานที่ชัดเจน มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้บังคับบัญชาใช้เป็นเครื่องมือในการปรับปรุงประสิทธิภาพและประสิทธิผลการปฏิบัติงาน และนำไปเป็นข้อมูลประกอบการพิจารณาในเรื่องต่างๆ เช่น การเลื่อนขั้นค่าจ้าง การให้เงินรางวัลประจำปี การพัฒนา การแก้ไขปรับปรุงการปฏิบัติงาน การแต่งตั้งลูกจ้างประจำ การให้ออกจากราชการ ฯลฯ

ให้ประเมินจากผลงานและคุณลักษณะการปฏิบัติงาน - ผลงาน องค์ประกอบ 1) ปริมาณงาน 2) คุณภาพของงาน 3) ความทันเวลา 4) ความคุ้มค่าของงาน 5) ผลลัพธ์และการนำไปใช้ประโยชน์ และประสิทธิผลของงาน

- คุณลักษณะการปฏิบัติงาน องค์ประกอบ 1) ความสามารถ และความอุตสาหะในการปฏิบัติงาน 2) การรักษาวินัย และปฏิบัติตนเหมาะสมกับการเป็นลูกจ้างประจำ 3) ความรับผิดชอบ 4) ความร่วมมือ 5) สภาพการมาปฏิบัติงาน 6) การวางแผน 7) ความคิดริเริ่ม ***อาจกำหนดให้มีองค์ประกอบการประเมินอื่นๆ เพิ่มเติมได้ตามความเหมาะสมของลักษณะภารกิจ และสภาพการปฏิบัติงาน

ประเมิน - ผลงาน (สัดส่วนคะแนนไม่น้อยกว่า 70%) - คุณลักษณะการปฏิบัติงาน (สมรรถนะ)

วิธีการและขั้นตอนการประเมินผล กำหนดให้มีคะแนนเต็ม 100 คะแนน ในการประเมินแต่ละครั้ง โดยกำหนดน้ำหนักคะแนนผลงานและคุณลักษณะการปฏิบัติงาน และสัดส่วนคะแนนของผลงานต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ส่วนราชการเป็นผู้แบ่งคะแนนให้แต่ละปัจจัยที่จะประเมิน (รายละเอียดในแบบประเมินผล) แต่เมื่อรวมคะแนนเต็มทุกปัจจัยที่ใช้ประเมินผลงานและคุณลักษณะ ต้องไม่เกินสัดส่วนคะแนนของประเมินผลงานและคุณลักษณะ กำหนดช่วงคะแนนของแต่ละระดับของแต่ละระดับผลการประเมินในแต่ละปัจจัยให้เหมาะสม ตามสัดส่วนของคะแนนแต่ละปัจจัย โดยใช้วิธีการคำนวณทางคณิตศาสตร์

วิธีการและขั้นตอนการประเมินผล 4. กรณีที่คะแนนรวมในการประเมินมีจุดทศนิยม ให้ปัดทิ้งและนำคะแนนรวมที่ได้มา สรุปการประเมินตามที่กำหนดไว้ 3 ระดับ 5. ให้กำหนดระดับผลการประเมินแต่ละปัจจัยของผลการปฏิบัติงานของลูกจ้างประจำเป็น 3 ระดับ ดังนี้ ระดับ คะแนน (ร้อยละ) คำอธิบาย ดีเด่น 90-100 ผลงาน หรือคุณลักษณะการปฏิบัติงานสูงกว่ามาตรฐาน หรือข้อกำหนด หรือดีเด่น เป็นที่ยอมรับได้ 60-89 ผลงาน หรือคุณลักษณะการปฏิบัติงานได้ตามมาตรฐาน หรือข้อกำหนด หรือยอมรับได้ ต้องปรับปรุง ต่ำกว่า 60 ผลงาน หรือคุณลักษณะการปฏิบัติงานต่ำกว่ามาตรฐาน หรือมีข้อบกพร่องอยู่เสมอ

วิธีการและขั้นตอนการประเมินผล 6. รวมคะแนนผลการประเมินทั้งสิ้น และคิดเป็นร้อยละ แล้วนำมาเปรียบเทียบกับระดับผลการประเมินที่กำหนดไว้ 3 ระดับ เพื่อสรุปผลการประเมิน ดังนี้ คะแนนเต็ม ระดับผลการประเมิน ดีเด่น (90-100%) เป็นที่ยอมรับได้ (60-89%) ต้องปรับปรุง (ต่ำกว่า 60%) 100 90-100 60-89 0-59

กำหนดให้ประเมินฯ ปีละ 2 ครั้ง ครั้งที่ 1 ระหว่าง 1 ต.ค. ถึง 31 มี.ค. ของปีถัดไป ครั้งที่ 2 ระหว่าง 1 เม.ย. ถึง 30 ก.ย. ของปีเดียวกัน จัดลำดับผลการประเมินเรียงลำดับจากผู้มีผลคะแนนดีเด่น เป็นที่ยอมรับได้ และต้องปรับปรุง ไว้ให้ชัดเจน และจัดทำบัญชีรายชื่อผู้มีผลการประเมินดีเด่น และเป็นที่ยอมรับได้ไว้ เพื่อพิจาณาเลื่อนขั้น ครั้งที่ 1 ใช้พิจารณาเลื่อนขั้น 1 เมษายน ของปีที่ได้เลื่อน ครั้งที่ 2 ใช้พิจารณาเลื่อนขั้น 1 ตุลาคม ของปีถัดไป

นำระบบเปิดมาใช้กับลูกจ้างประจำ โดยให้หัวหน้าส่วนราชการหรือผู้บังคับบัญชาที่ได้รับมอบหมาย ประกาศรายชื่อผู้ที่มีผลการประเมินอยู่ในระดับดีเด่น ในที่เปิดเผยให้ทราบทั่วกัน ให้มีคณะกรรมการกลั่นกรองการประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลการปฏิบัติงานของลูกจ้างประจำ วัตถุประสงค์ - เพื่อพิจารณากลั่นกรองผลการประเมินให้เกิดมาตรฐาน และเป็นธรรมในการใช้ดุลพินิจของผู้บังคับบัญชาหรือผู้ประเมิน ก่อนเสนอผลการประเมินต่อผู้มีอำนาจสั่งเลื่อนขั้น - องค์ประกอบของคณะกรรมการฯให้เป็นไปตามที่ส่วนราชการเห็นสมควร

- ผู้บังคับบัญชาที่เป็นผู้ประเมินควรนำผลการประเมินไปใช้ประกอบการให้คำแนะนำแก่ผู้รับการประเมิน เพื่อให้มีการแก้ไข ปรับปรุงการปฏิบัติงาน และกำหนดแผนการพัฒนา ให้ลูกจ้างประจำมีสมรรถนะและผลสัมฤทธิ์ของงานดียิ่งขึ้น - ให้มีการวางระบบการจัดเก็บผลการประเมิน เพื่อนำไปใช้ตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้