หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คณิตคิดเร็วโดยใช้นิ้วมือ
Advertisements

โปรแกรมฝึกหัด การเลื่อนและคลิกเมาส์
นางสาวนภัสญาณ์ ไก่งาม
แบบรูปและความสัมพันธ์
วิชา องค์ประกอบศิลป์สำหรับคอมพิวเตอร์ รหัส
งานนำเสนอวิชาคณิตศาสตร์ บทพิสูจน์ทางคณิตศาสตร์
พลังงานในกระบวนการทางความร้อน : กฎข้อที่หนึ่งของอุณหพลศาสตร์
การซ้อนทับกัน และคลื่นนิ่ง
สอบท้ายบท เรื่อง เวกเตอร์
ชื่อสมบัติของการเท่ากัน
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เปรียบเทียบจำนวนประชากรทั้งหมดจากฐาน DBPop Original กับจำนวนประชากรทั้งหมดที่จังหวัดถือเป็นเป้าหมาย จำนวน (คน) 98.08% % จังหวัด.
เรื่อง ทฤษฎีบทปีทาโกรัส โดย.. ด.ญ.กรรณิการ์ รัตนกิจธำรง
ครูโรงเรียนฝางวิทยายน
ความเท่ากันทุกประการ
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง ที่เป็นผลต่างของกำลังสอง
จำนวนจริง F M B N ขอบคุณ เสถียร วิเชียรสาร.
ข้อสอบ O-Net การเคลื่อนที่แนวตรง.
บทที่ 1 อัตราส่วน.
บทที่ 2 สัดส่วน สัดส่วน หมายถึง ประโยคที่แสดงการเท่ากันของอัตราส่วนสองอัตราส่วน.
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
ทฤษฏีบทพีธาโกรัส กรรณิกา หอมดวงศรี ผู้เขียนเนื้อหา.
มาสเตอร์วุฒินันท์ สิงห์เผ่น กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ระบบอนุภาค.
กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ โรงเรียนบ้านหนองกุง อำเภอนาเชือก
บทพิสูจน์ต่างๆทางคณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์ แสนสนุก.
แนวทางการปฏิบัติโครงการจูงมือ น้องน้อยบนดอยสูง 1.
การพิมพ์การค้นคว้าอิสระ และวิทยานิพนธ์
สรุปผลการปฏิบัติงาน ประจำเดือน พฤษภาคม พ. ศ
พื้นที่และปริมาตร พีระมิด คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค33101
การแจกแจงปกติ.
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่6
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
F M B N สมบัติของจำนวนนับ ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.).
สรุปสถิติ ค่ากลาง ค่าเฉลี่ยเลขคณิต เรียงข้อมูล ตำแหน่งกลาง มัธยฐาน
การสร้างแบบเสื้อและแขน
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
พีระมิด.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การสอบแข่งขันทักษะคณิตศาสตร์ ระดับประถมศึกษา (รอบที่ 1 คิดเลขเร็ว)
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
ปริมาตรทรงกระบอก ปริมาตรทรงกระบอก  r h
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส เรื่อง ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
ทฤษฎีบทปีทาโกรัส.
พื้นที่ผิวและปริมาตรพีระมิด
หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 เส้นขนาน เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
จำนวนจริง จำนวนอตรรกยะ จำนวนตรรกยะ เศษส่วน จำนวนเต็ม จำนวนเต็มบวก
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
2.ทฤษฎีบทพิทาโกรัส(เขียนในรูปพื้นที่ของสี่เหลี่ยมจัตุรัส)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
สื่อการสอนด้วยโปรมแกรม “Microsoft Multipoint”
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
กราฟเบื้องต้น.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
การนำทฤษฎีพีทาโกรัสไปใช้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 เส้นขนาน เรื่อง เส้นขนานและมุมแย้ง
หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 เส้นขนาน เรื่อง เส้นขนานและการนำไปใช้
กราฟเบื้องต้น.
ปริมาตรทรงสามมิติ  พื้นที่ฐาน  สูง.
ผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา
บทกลับของทฤษฎีพิทาโกรัส
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทที่ 2 การวัด.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส คณิตศาสตร์ (ค32101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส เรื่อง บทกลับของทฤษฎีบทพีทาโกรัส สอนโดย ครูชนิดา ดวงแข

ความสัมพันธ์ระหว่างความยาวของ ด้านทั้งสามของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก c2 = a2 + b2 a2 = c2 - b2 b2 = c2 - a2 c b a

สำหรับรูปสามเหลี่ยมใด ๆ ถ้า กำลังสองของความยาวของด้าน ด้านหนึ่ง เท่ากับ ผลบวกของกำลัง สองของความยาวของด้านอีกสอง ด้าน แล้วรูปสามเหลี่ยมนั้นเป็นรูป สามเหลี่ยมมุมฉาก

ลองทำดู

1) บันไดอันหนึ่งยาว 50 ฟุต พาดถึง หน้าต่างสูง 48 ฟุต ถ้ากลับบันไดไป พาดกับกำแพงอีกด้านหนึ่งซึ่งอยู่ตรง ข้ามกับหน้าต่าง ปลายบันไดจะจรด กำแพงสูงจากพื้นดินได้เพียง 14 ฟุต อยากทราบว่าผนังตึกอยู่ห่างกำแพง กี่ฟุต

วิธีทำ ให้ AB เป็นความยาวของบันได AC เป็นระยะห่างพื้นดินถึงหน้าต่าง AD เป็นระยะปลายบันไดที่จรด กำแพงถึงพื้นดิน A 50 48 A 50 14 C D B

จากDABC จะได้ BC2 = AB2 - AC2 = 502 - 482 = 2500 - 2304 = 196 BC = 14 = 502 - 482 = 2500 - 2304 = 196 BC = 14 จากDABD จะได้ BD2 = AB2 - AD2 = 502 - 142

ดังนั้น ผนังตึกอยู่ห่างกำแพง 62 ฟุต = 2,500 - 196 = 2,304 BD = 48 CD = CB + BD = 14 + 48 = 62 A B 48 C D 50 14 ดังนั้น ผนังตึกอยู่ห่างกำแพง 62 ฟุต

2) ชายคนหนึ่งออกเดินทางไปทาง ทิศใต้ได้ 27 ไมล์ ก็เลี้ยวไปทางทิศ ตะวันตกได้ 24 ไมล์ แล้วเลี้ยวไปทาง ทิศเหนืออีก 20 ไมล์ ชายคนนี้จะอยู่ ห่างจากที่เดิมกี่ไมล์

วิธีทำ ให้ชายคนนั้นเริ่มเดินทางจากA ไปทางทิศใต้ถึง B เป็นระยะ 27 ไมล์ เลี้ยวไปทิศตะวันตก ถึง C 24 ไมล์ D E 27 เลี้ยวไปทิศเหนือ ถึง D 20 ไมล์ 20 B C 24 ลาก DE ตั้งฉากกับAB ที่ E

จากDADE จะได้ AD2 = AE2 - DE2 = (27 - 20)2 + 242 = 72 + 242 = 49 + 576 = (27 - 20)2 + 242 = 72 + 242 = 49 + 576 = 625 AD = 25 ชายคนนี้อยู่ห่างจากที่เดิม 25 ไมล์ A B 27 C D 24 20 E

3) จากรูป ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก มี AB = 16 ซม. BG = 21 ซม. และ FG = 12 จงหาความยาวของ AF A B 16 D C 21 H G 12 E F

วิธีทำ DABC เป็นรูปD มุมฉาก จะได้ AC2 = AB2 + BC2 AC2 = 162 + 122 G F E D C 21 16 12 H 20

นั่นคือ AF ยาว 29 เซนติเมตร DAHF เป็นรูปD มุมฉาก จะได้ AF2 = AH2 + HF2 AF2 = 212 + 202 AF2 = 441 + 400 AF2 = 841 AF2 = 29 × 29 AF = 29 นั่นคือ AF ยาว 29 เซนติเมตร A B G F E D C 21 16 12 H 20

4) จากรูปให้หาพื้นที่ส่วนแรเงา A B 9 C E D 8 4

วิธีทำ DBAC เป็นรูปD มุมฉาก จะได้ BC2 = AB2 + AC2 BC2 = 92 + (4+8)2 = 225 = 15 × 15 BC = 15 A B 9 C E D 8 4

ดังนั้น ด้าน DC ยาว = 7.5 DCDE เป็นรูปD มุมฉาก DE2 = CE2 - CD2 = 82 - 7.52 = 64 - 56.25 = 7.75 DE = 2.78 A B 9 C E D 8 4 7.5 2.78

2 = 1 12 9 พื้นที่รูปDBAC = 54 ตารางหน่วย 2 = 1 2.78 7.5 × 1 12 9 พื้นที่รูปDBAC A B 9 C E D 8 4 = 54 ตารางหน่วย 7.5 2.78 2 = × 1 2.78 7.5 พื้นที่รูปDCDE = 10.425

พื้นที่รูป AEDB (ส่วนที่แรเงา) = พท.รูปDBAC - พท.รูปDCDE = 54 - 10.425 = 43.575 A B 9 C E D 8 4 พื้นที่ส่วนที่แรเงา 43.575 ตารางหน่วย ตอบ 43.575 ตารางหน่วย

5) จากรูปด้าน BC ยาวเป็นครึ่งหนึ่ง ของด้าน DC ให้ DE = 6 เซนติเมตร และ EC = 8 เซนติเมตร จงหาพื้นที่ ส่วนที่แรเงา A B C D E 8 6

วิธีทำ DDEC เป็นรูปD มุมฉาก DC2 = DE2 + EC2 DC2 = 62 + 82 = 100 = 10 × 10 DC = 10 A B C D E 8 6 10

BC ยาวเป็นครึ่งหนึ่ง DC ดังนั้น BC ยาว 5 ซม. ABCD เป็นรูป  ผืนผ้า มีด้าน DC ยาว 10 ซม. BC ยาวเป็นครึ่งหนึ่ง DC ดังนั้น BC ยาว 5 ซม. A B C D E 8 6 10 พื้นที่  ผืนผ้า = กว้าง × ยาว = 5 × 10 = 50 ตร.ซม.

= พท.รูปABCD - พท.รูปDDEC = 50 - 24 = 26 ตารางเซนติเมตร × 1 6 8 พื้นที่รูปDDEC A B C D E 8 6 = 24 ตร.ซม. พื้นที่ส่วนที่แรเงา = พท.รูปABCD - พท.รูปDDEC = 50 - 24 = 26 ตารางเซนติเมตร 10

6) จงแสดงว่าพื้นที่ของ จัตุรัสที่ สร้างขึ้นบนด้านทแยงมุมของจัตุรัส ที่กำหนดให้จะเท่ากับ 2 เท่าของพื้นที่ ของ จัตุรัสที่กำหนดให้นี้ A B C D E F

วิธีทำ ให้ABCDเป็น  จัตุรัส มี AC เป็นเส้นทแยงมุม และ ACEFเป็นจัตุรัสบนด้านAC พื้นที่  จัตุรัส = ด้าน ×ด้าน พื้นที่ของ ABCD = BC2 พื้นที่ของ ACEF = AC2 A B C D E F

ดังนั้น พื้นที่ ACEF เป็น 2 เท่า ของพื้นที่ ABCD DABC เป็นรูปD มุมฉาก จะได้ AC2 = AB2 + BC2 เนื่องจาก AB = BC AC2 = BC2 + BC2 AC2 = 2BC2 A B C D E F ดังนั้น พื้นที่ ACEF เป็น 2 เท่า ของพื้นที่ ABCD