พัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Service Plan สาขา NCD.
Advertisements

ชื่อโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือด
ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
การบริหารงบ PP ปี 52 งบ PP เขต จว./อำเภอ Non-UC สธ. Non-UC สปสช.
แนวทางการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
ประเด็นยุทธศาสตร์ กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ ดื่มน้ำสะอาด
การจัดกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในชุมชน
ความหมายและกระบวนการ
สวัสดีครับ.
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
การประชุมเชิงปฏิบัติการใช้ค่ากลาง
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
การสำรวจหา ค่ากลาง นโยบายรัฐบาล เรื่องการพัฒนาสุขภาพของ ประชาชน ประกาศเมื่อ 23 สิงหาคม จัดให้มีมาตรการสร้างสุขภาพโดยมี เป้าหมายเพื่อลดอัตราป่วย.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
งานโรคไม่ติดต่อ กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครราชสีมา
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
นโยบาย และแนวทางการแก้ไขปัญหาโรคเบาหวาน ระดับประเทศและภูมิภาค
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
นพ.วินัย ศรีสอาด สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ กรมการแพทย์
LOGO งาน High Light การพัฒนา สุขภาพ จังหวัดลพบุรี ประจำปี 2552.
ภารกิจ อสม.งานประจำ/งานนโยบาย
นโยบาย ปฐมภูมิ ลดแออัด พัฒนาคุณภาพบริการ
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
การป้องกันโรคไตแบบบูรณาการ
ห้องประชุมสานฝัน โรงพยาบาลสังขะ
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
แผนงานป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
คำแนะนำการใช้ SLM ร่วมระหว่าง กรมอนามัยและควบคุมโรค  การจัดการทั่วไป 1. สสจ. จัดประชุมเพื่อพัฒนา SLM ร่วมเพิ่มเติม ผู้ เข้าประชุมประกอบด้วยคณะผู้แทนศูนย์อนามัย.
ส่งเสริมสัญจร.
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
โครงการ หมู่บ้าน/ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม
“การชะลอภาวะไตวายเรื้อรัง”
แนวทางการดำเนินงานเกษตรกรปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข
โครงการหมู่บ้าน / ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค
บทเรียนการดำเนินการให้บริการบำบัดผู้เสพยาสูบ แบบครบวงจร
การจัดบริการสุขภาพ ผู้สูงอายุไทย
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
แผนสุขภาพเขตกลุ่มวัยทำงานDM, HT, IHD Focal point สสจ.ราชบุรี
การดำเนินงานโครงการสำคัญ และตัวชี้วัดความสำเร็จการดำเนินงาน กลุ่มที่ 2 (6.วัยรุ่น 7.วัยทำงาน 8.ป้องกันควบคุมปัจจัยเสี่ยง)
บทบาท อสม.เชิงรุก ๑. เป็นผู้นำทางความคิดและผู้นำทางด้านสุขภาพในระดับชุมชน ในการลดโรค ๕ โรคสำคัญที่เป็นสาเหตุการตายลำดับต้นๆของประชาชน คือ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง.
วิสัยทัศน์ อบต. หนองหญ้า “ ส่งเสริมการศึกษา พัฒนาแหล่งน้ำ เสริมสร้างคุณภาพชีวิต ชุมชนเข้มแข็ง แหล่งท่องเที่ยวก้าวไกล สืบสานวัฒนธรรมไทย การบริหาร โปร่งใส.
แผนพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
ศุภวรรณ มโนสุนทร Ph.D.Hd, MPH, B.Sc สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
บูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพ ด้านพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
(ด้านงานอาชีวอนามัย)
สกลนครโมเดล.
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
การพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ จังหวัดอุบลราชธานี นางปริญญา ผกานนท์ นักวิชาการสาธารณสุข 8 ว.
ทิศทางการพัฒนางานสุขศึกษาและพฤติกรรมสุขภาพ
การป้องกัน การเสริมสร้างบทบาทองค์ ความรู้แก่ผู้นำทาง ความคิดของเด็กและ เยาวชน การพัฒนาความร่วมมือ ของ ภาคีเครือข่าย การขจัดสิ่งยั่วยุและ อิทธิพลจากสื่อ.
นวัตกรรม7สี ปันรัก ไกลโรค ปี2556
หน่วยงานภาครัฐ, อปท. และเอกชนมีสนับสนุน งบประมาณ, ประสานงาน กัน อย่างต่อเนื่องและ เข้มแข็ง ( นาจอมเทียน, บางเสร่, พูลตาหลวง, แสมสาร, สัตหีบ ) มีระบบข้อมูลที่มี
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
คลินิกสุขภาพเด็กดีคุณภาพ
เกณฑ์การประกวดอำเภอดีเด่น ด้านการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
ขับเคลื่อนงานด้านโรคไม่ติดต่อ และการบาดเจ็บ
คู่มือสนับสนุนการดำเนินงานพัฒนาสุขภาพ กลุ่มวัยทำงานด้านโรคไม่ติดต่อ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

พัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน นพ. ภานุวัฒน์ ปานเกตุ สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค

เป้าหมาย ปี 2568 ลดตายก่อนวัยอันควรจากโรค NCDs 25% -ตำบลจัดการสุขภาพ กรอบแนวคิดการพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน ลดการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ 10 % ลดการบริโภคยาสูบ 30 % ลดภาวะความดันโลหิตสูง 25 % ผู้ที่เสี่ยงสูงต่อ CVD ได้รับยาและคำปรึกษา 50% ลดตายก่อนวัยอันควรจากโรค NCDs 25% ลดการขาดกิจกรรม ทางกาย 10 % ลดการบริโภคเกลือ/โซเดียม 30% ภาวะเบาหวานและอ้วนไม่ให้เพิ่ม ยาและเทคโนโลยีที่จำเป็นครอบคลุม 80% สร้างเสริมสุขภาพ และวิถีชีวิตในประชากร ป้องกันการเกิดโรค ในกลุ่มเสี่ยงสูง ป้องกันและชะลอการดำเนินโรค สู่ภาวะแทรกซ้อนและการเป็นซ้ำ ลดพฤติกรรม/ปัจจัยเสี่ยงในประชากร -ตำบลจัดการสุขภาพ -การบังคับใช้กฎหมาย พัฒนาคลินิกบริการและการจัดการโรค -คลินิก NCD คุณภาพ DHS + system manager ระดับจังหวัด/อำเภอ

DHS Approach Population Individual ปกติ 3 อ. 2 ส. เสี่ยง ป่วย WHO 9 เป้าหมาย สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย โครงการสนองน้ำพระราชหฤทัย ปิงปอง 7 สี Approach Population Individual Community (ตำบล/ สถานที่ทำงาน) Hospital (คลินิก NCD คุณภาพ) ปกติ 3 อ. 2 ส. เสี่ยง DPAC ป่วย NCD clinic ป่วย + complication คัดกรอง ตา ไต เท้า CVD risk ass. Information/ ทะเบียน Registry Pop-Screening (DM,HT) DHS NCD Board/กรรมการ Service plan -------------------------------- HR: System manager/ Case manager --------------------------------- Value Chain บูรณาการทุกกรม

ผู้มารับบริการในคลินิก การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เป้าหมาย ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม จัดการตนเอง ควบคุมสภาวะของโรคได้ การปรับระบบบริการ ในคลินิก NCD คุณภาพ ผู้มารับบริการในคลินิก การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม DPAC Psychosocial clinic เลิกบุหรี่ สุรา โภชนบำบัด(อาหารเฉพาะโรค การรักษาด้วยยา มาตรฐานวิชาชีพ Service Plan ประเมินปัจจัยเสี่ยง อ้วน CVD risk สุขภาพจิต บุหรี่ สุรา รพศ./รพท. รพช./รพ.สต บูรณาการ/ one stop service

แนวทางการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด

ขั้นตอนที่ 5 เลือกช่วงอายุ

ขั้นตอนที่ 6 เลือกค่า systolic blood pressure

ขั้นตอนที่ 7 ค่า cholesterol กรณีทราบค่า cholesterol

การแปลผล

ขั้นตอนการบริการหลังประเมินในกลุ่มป่วยโรคเบาหวานและ โรคความดันโลหิตสูง (DM, HT)

เป้าหมายผลลัพธ์การบริการและจัดการตนเองเพื่อลดโอกาสเสี่ยง 1 2 3 4 5 6 7

การประเมินปัจจัยเสี่ยง CVD ด้วยวาจา 9 ข้อ 1. การกินผัก ผลไม้ ไม่เพียงพอ 2. การมีวิถีชีวิตนั่งๆนอนๆ 3. สูบหรี่ 4. ดัชนีมวลกาย และ รอบเอว 5. มีอัตราส่วนของ Chol. ต่อ HDL > 5 หรือ ประวัติไขมันผิดปกติ 6. มีประวัติ IHD และ/หรือ Stroke 7. มีประวัติ HT 8. มีประวัติ DM 9. ประวัติครอบครัวเคยป่วยด้วย CVD

ตารางสีที่ 1 กรณีทราบผล โคเลสเตอรอล (cholesterol) ในเลือด

ระบบเฝ้าระวัง ควบคุม ป้องกัน DM&HT ด้วยปิงปองจราจรชีวิต 7 สี ตำบลจัดการสุขภาพ คลินิก NCD คุณภาพ Multidrug Rx ควบคุมสภาวะโรคได้ดี CVD risk > 30% ปกติ + 1 2 3 กลุ่มเสี่ยง มีภาวะแทรกซ้อน กลุ่มป่วย

ตำบลจัดการสุขภาพ 1 2 3 4 5 6 7 ตำบลจัดการสุขภาพ อสม. ระดับ เครือข่าย พัฒนาทีม แผนสุขภาพตำบล กิจกรรม ผลลัพธ์การพัฒนา นวัตกรรม/ศูนย์เรียนรู้ พื้นฐาน พัฒนา ดี ดีมาก ดีเยี่ยม 1 อสม. แผนสุขภาพตำบล กิจกรรมสุขภาพ การมีส่วนร่วมของ อปท. 2 3 แผนงาน/ กิจกรรม เป้าหมายลดNCD ,อุบัติเหตุ 4 5 6 7 เฝ้าระวัง/ คัดกรอง สื่อสารด้านสุขภาพในชุมชนเพื่อปรับพฤติกรรม -3อ 2ส -3ม 2ข 1ร ปรับเปลี่ยนสภาพแวดล้อม -เอื้อสุขภาพดี -ลดจุดเสี่ยงอันตราย กำหนดมาตรการสังคม/ข้อตกลงร่วม

ตัวอย่าง -การบูรณาการดำเนินงานในตำบลจัดการสุขภาพ กิจกรรม ตัวอย่าง -การบูรณาการดำเนินงานในตำบลจัดการสุขภาพ เฝ้าระวัง / คัดกรอง 1. มีการเฝ้าระวังด้วยตนเอง : รอบเอว น้ำหนัก อ้วน ความดันโลหิต การออกกำลังกาย การบริโภคอาหาร 2. ระบบเฝ้าระวังในชุมชน 3. การคัดกรองเชิงรุก การมีส่วนร่วมของชุมชนในการคัดกรองกลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย ด่านชุมชน สนับสนุนแกนนำชุมชน อสม.ดูแลติดตามอย่างต่อเนื่อง สื่อสารเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม มีข้อมูลพฤติกรรมสุขภาพประชาชนในตำบล สื่อประชาสัมพันธ์ สื่อสารความรู้สุขภาพ รณรงค์และสื่อสารเตือนภัย (Risk communication) แนะนำการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3อ 2ส , 3ม 2ข 1ร โดย จนท. สธ./อสม./นักจัดการสุขภาพ สนับสนุนระบบพี่เลี้ยง/เพื่อนช่วยเพื่อนเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ถ่ายทอดและแลกเปลี่ยนความรู้ เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ผลักดันให้มีบุคคลต้นแบบ ชุมชนต้นแบบ ติดตามความรับรู้ ความตระหนัก / ความตั้งใจที่จะปรับเปลี่ยน พฤติกรรม 9. มีการติดตามพฤติกรรมสุขภาพ 4 5

ตัวอย่าง-การบูรณาการดำเนินงานในตำบลจัดการสุขภาพ กิจกรรม ตัวอย่าง-การบูรณาการดำเนินงานในตำบลจัดการสุขภาพ ปรับเปลี่ยนสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ /ลดจุดเสี่ยงอันตราย 1. มีสถานที่ออกกำลังกาย/ชมรมออกกำลังกาย /ชมรมผู้สูงอายุ 2. มีศูนย์แลกเปลี่ยนเรียนรู้ของชุมชน 3. มีอุปกรณ์ในการติดตามพฤติกรรมสุขภาพตนเอง เช่นเครื่องวัด ความดันโลหิต เครื่องชั่งน้ำหนัก ที่ประชาชนเข้าถึงได้ง่าย 4. มีแปลงสาธิตในการปลูกผักปลอดสารพิษ / ส่งเสริมให้มีตลาดผัก ปลอดสารพิษ 5. ส่งเสริมศาสนกิจในชุมชน 6. สถานที่สาธารณะปลอดบุหรี่ ปลอดสุรา 7. แก้ไขจุดเสี่ยง จุดอันตราย จุดที่อุบัติเหตุบ่อย กำหนดมาตรการทางสังคม หรือข้อตกลงร่วม 1. กำหนดข้อตกลงร่วมกันของชุมชน ตำบล ในการลดพฤติกรรมเสี่ยง ลดการบริโภคน้ำปลา เกลือ เครื่องปรุงรสในครัวเรือน ใช้พืช/สมุนไพรแทนเครื่องปรุงรสในครัวเรือน งดเหล้า/ ลดอาหารหวาน มัน เค็ม /งดชากาแฟ ในงานศพและงานบุญ สวมหมวกนิรภัย เมาไม่ขับ ขับไม่เร็ว 2. ให้รางวัลบุคคลที่มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ดีขึ้นอย่างชัดเจน 6 7