การคำนวณต้นทุนผลผลิตหลักและการประเมินความคุ้มค่า โดย สมชาย ศักดาเวคีอิศร รักษาการในตำแหน่งที่ปรึกษาด้านนโยบายและแผนงาน สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ วันที่ 12 พฤษภาคม 2553 ณ ห้อง 313-314 ชั้น 3 สำนักงานอธิการบดี (ตลิ่งชัน) มหาวิทยาลัยศิลปากร
1. การประเมินความคุ้มค่า คืออะไร สาระการนำเสนอ 1. การประเมินความคุ้มค่า คืออะไร ความเป็นมา นิยามและขอบเขต 2. ขั้นตอนการประเมินความคุ้มค่า 3. การวิเคราะห์ตัวชี้วัดของมหาวิทยาลัยฯ
1. ความเป็นมา : มาตรา 21 : มาตรา 22 : 1. ความเป็นมา : พรฏ. ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 มาตรา 21 : ให้ส่วนราชการจัดทำบัญชีต้นทุนในงานบริการสาธารณะ แต่ละประเภทตามหลักเกณฑ์ที่กรมบัญชีกลางกำหนด มาตรา 22 : “ให้ สศช. และ สงป. ร่วมกันจัดให้มีการประเมินความคุ้มค่าในการปฏิบัติภารกิจของรัฐที่ส่วนราชการดำเนินการอยู่ เพื่อรายงานคณะรัฐมนตรี สำหรับเป็นแนวทางในการพิจารณาว่าภารกิจใดสมควรจะได้ดำเนินการต่อไป หรือ ยุบเลิก และเพื่อประโยชน์ในการจัดตั้งงบประมาณของส่วนราชการในปีต่อไป....”
แผนการดำเนินงาน 2547-49 2550-51 2552 2553 วางกรอบแนวทาง ทดลองประเมินความคุ้มค่าการปฏิบัติภารกิจของ สศช. วางกรอบแนวทาง จัดทำรายละเอียดแนวทางการประเมินความคุ้มค่าฯ เสนอคณะรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบ 18 ตุลาคม 2548 2547-49 มหาดไทย อุตสาหกรรม สาธารณสุข 2550-51 ขยายผล 3 กระทรวงนำร่อง 2552 ขยายผลทุกกรมใน 17 กระทรวง และ 3 กระทรวงนำร่อง 2553 ทุกหน่วยงานประเมินความคุ้มค่าการปฏิบัติภารกิจ
นิยาม การประเมินความคุ้มค่า การประเมินการดำเนินภารกิจของภาครัฐเพื่อให้ได้ผลผลิต ผลลัพธ์ตามวัตถุประสงค์อย่างมีประสิทธิภาพ มีประโยชน์ที่สมดุลกับทรัพยากรที่ใช้ ผลลัพธ์เป็นได้ทั้งทางบวกและทางลบ ทั้งที่สามารถคำนวณเป็นตัวเงินและไม่เป็นตัวเงินได้
กรอบการประเมินความคุ้มค่า ประสิทธิผล : บรรลุวัตถุประสงค์ / เป้าหมาย ความพึงพอใจของผู้รับบริการ ประสิทธิภาพ : การสร้างผลผลิตหรือการให้บริการด้วยต้นทุนต่ำที่สุด ผลกระทบ : ผลสืบเนื่องจากการปฏิบัติภารกิจตามที่คาดหมายและไม่คาดหมาย
ขอบเขตการประเมินความคุ้มค่า โครงการที่สำคัญ ต่อภารกิจ หน่วยการประเมิน ภารกิจที่ต้องประเมิน ภารกิจหลัก/งานหลัก ๏ บริการสาธารณะ ๏ บริการด้านการพัฒนา/ ความมั่นคง หน่วยงาน ระดับกรม ผลผลิตหลัก โครงการที่สำคัญ ต่อภารกิจ
ผลผลิต สิ่งของหรือบริการที่เป็นรูปธรรมหรือรับรู้ได้ จัดทำโดยหน่วยงานของรัฐ เพื่อให้บุคคลภายนอกได้ใช้ประโยชน์ ที่มา : สำนักงบประมาณ การปรับปรุงระบบการจัดการงบประมาณ หน้า 38
ตัวชี้วัดการประเมินความคุ้มค่า ภารกิจ ตัวชี้วัดหลัก ตัวชี้วัดเพิ่มเติม บริการสาธารณะ (ประชาชนได้ ประโยชน์ โดยตรง) ประสิทธิภาพ ต้นทุนต่อหน่วย สัดส่วนผลผลิตต่อทรัพยากร สัดส่วนค่าใช้จ่ายจริงต่อค่าใช้จ่ายตามแผน คุณภาพการให้บริการ ประสิทธิผล ความสำเร็จในการบรรลุวัตถุประสงค์/เป้าหมาย ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้ประโยชน์ ประสิทธิผลของค่าใช้จ่าย (Cost-Effectiveness) บริการด้าน การพัฒนา และความมั่นคง ประโยชน์โดยอ้อม) ผลกระทบ ต่อประชาชน ต่อเศรษฐกิจ ต่อสังคม ต่อสิ่งแวดล้อม Benefit-Cost Ratio ผลสำเร็จของการดำเนินงานจากการใช้งบประมาณ ระดับความสำเร็จของการดำเนินงาน จากการใช้งบประมาณ (PART) ภารกิจที่เป็นโครงการ ประเมินตัวชี้วัดหลักและเพิ่มเติม
ความเชื่อมโยงระหว่างการประเมินการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการกับการประเมินความคุ้มค่า การจัดทำคำรับรองฯ (กพร) เป้าประสงค์ ยุทธศาสตร์ ผลผลิต กลุ่มภารกิจ 1 ผลลัพธ์ ต้นทุนต่อหน่วย Cost-effectiveness ผลประโยชน์ของภารกิจ -อัตราส่วนต้นทุนค่าใช้จ่าย -NPV -IRR -ผลกระทบอื่น ๆ ที่ประเมิน เป็นมูลค่าไม่ได้ กระทรวง กลุ่มภารกิจ 2 เป้าประสงค์ ยุทธศาสตร์ ผลผลิต ผลลัพธ์ ประเมินความเหมาะสมของ งาน/โครงการ ก่อนดำเนินการ ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล คุณภาพ การพัฒนาองค์กร (Balanced Scorecard) สำนักงานปลัดกระทรวงฯ เป้าประสงค์ ยุทธศาสตร์ ผลผลิต ผลลัพธ์ สำนักงาน ก. เป้าประสงค์ ยุทธศาสตร์ ผลผลิต ผลลัพธ์
2. กระบวนการประเมินความคุ้มค่า 2.1 เตรียมกลไกขับเคลื่อนการดำเนินงาน ตั้งคณะทำงานในระดับกรม ประกอบด้วยผู้แทนจากทุกกอง/สำนัก พร้อมทั้งกำหนดผู้ประสานงานอย่างชัดเจน เพื่อขับเคลื่อนการประเมินความคุ้มค่า 2.2 เตรียมข้อมูลเบื้องต้นที่จำเป็นต่อการประเมิน ภายใต้การประเมินความคุ้มค่าที่ครอบคลุมมิติประสิทธิผล มิติประสิทธิภาพ มิติผลกระทบ มีข้อมูลเบื้องต้นที่จำเป็นต้องใช้เพื่อ การวางกรอบแนวทาง อาทิ พ.ร.บ. และ พ.ร.ฎ. ที่เกี่ยวข้องกับกระทรวงและกรม / แผนกลยุทธ์ของกระทรวงและกรม / แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี / ผังโครงสร้างการเชื่อมโยงยุทธศาสตร์ชาติ / การวิเคราะห์ SWOT ของกระทรวงและกรม / ตัวชี้วัดผลลัพธ์ระดับผลผลิตของกรม และปริมาณงานของกรม / ผังเชื่อมโยงผลลัพธ์สู่ผลผลิต กิจกรรม งบประมาณของกรม / รายงานตามแบบ สงป. 301
ขั้นตอนในการประเมินความคุ้มค่าฯ การกำหนดผลผลิต การกำหนดตัวชี้วัดและระดับ ความสมบูรณ์ของข้อมูล การวิเคราะห์ผลประโยชน์กับค่าใช้จ่าย การวิเคราะห์ข้อมูลและการนำเสนอผล การประเมินความคุ้มค่าฯ
การกำหนดผลผลิต แบบฟอร์ม 3.1 ผลผลิตที่ตอบสนองภารกิจหลักโดยตรง กิจกรรมภายในหน่วยงานที่นำมาคิดปันส่วนค่าใช้จ่าย ผลผลิตที่ไม่เข้าข่ายในการประเมินความคุ้มค่าฯ - หน่วยส่งผ่านงบประมาณ - การประชุมนานาชาติ - กองทุน/เงินชดเชย/เงินชำระหนี้ แบบฟอร์ม 3.1 แบบฟอร์มที่ใช้ :
การกำหนดตัวชี้วัดและระดับ ความสมบูรณ์ของข้อมูล แบบฟอร์ม 3.2 ความสำเร็จตามยุทธศาสตร์/เป้าหมายการให้บริการ กระทรวง วัดผลกระทบ (2Q+2T+1P) : ปริมาณ/คุณภาพ/เวลา/เป้าหมาย/สถานที่ ความสำเร็จตามกลยุทธ์/เป้าหมายการให้บริการหน่วยงาน กรม วัดประสิทธิผล (2Q+2T+1P) ความสำเร็จของผลผลิต Q Q C T : ปริมาณ/คุณภาพ/ต้นทุน/เวลา ตรวจระดับความสมบูรณ์ของข้อมูลและสารสนเทศ วางแผนเพิ่มระดับความสมบูรณ์ของข้อมูลและสารสนเทศ แบบฟอร์ม 3.2 แบบฟอร์มที่ใช้ :
คุณสมบัติของตัวชี้วัด VARS Validity : ความสมเหตุสมผลที่อธิบายได้ Availability of Data : ความมีอยู่ของข้อมูล Reliability of Data : ความเชื่อถือได้ของข้อมูล Sensitivity : ความไวต่อการเปลี่ยนแปลงปริมาณหรือคุณภาพ
การวิเคราะห์ผลประโยชน์กับค่าใช้จ่าย แบบฟอร์ม 3.3 ระบุกลุ่มเป้าหมายที่รับบริการ/พื้นที่ ระบุผลประโยชน์ที่เกิดขึ้นทั้งที่เป็นเงินและไม่เป็นเงิน ค่าใช้จ่ายโดยตรงและค่าใช้จ่ายเป็นส่วนทั้งหมด รวมทั้งค่าใช้จ่ายที่เป็นผลกระทบ ค่าใช้จ่ายทั้งจากเงินงบประมาณและเงินนอกงบประมาณ แบบฟอร์ม 3.3 แบบฟอร์มที่ใช้ :
การวิเคราะห์ข้อมูลและการนำเสนอผลการประเมินความคุ้มค่าฯ สรุปผลการวิเคราะห์ข้อมูลการประเมินประสิทธิผล ประสิทธิภาพ และผลกระทบ จัดทำรายงานการประเมินประสิทธิผล ประสิทธิภาพ และผลกระทบ แบบฟอร์ม 3.4 แบบฟอร์มที่ใช้ :
บทเรียนหน่วยงานนำร่อง 1. เป้าหมายการให้บริการของกรมสูงกว่าระดับกระทรวง สร้างความมั่นคงของรัฐ ขจัดความยากจน 2. เป้าหมายการให้บริการของกระทรวง/หน่วยงานเป็นนามธรรม แก้ไขปัญหาที่ดินของคนยากจน เสริมสร้างความมั่นคงในชีวิตและทรัพย์สิน ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน สภาวะแวดล้อมดีขึ้น ความคุ้มครองรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเพิ่มขึ้น ให้บริการประชาชนอย่างมีคุณภาพประสิทธิภาพทั่วถึง 3. ไม่มีตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์และผลกระทบ โดยนำตัวชี้วัดระดับผลผลิตไปใช้แทน และตัวชี้วัดระดับผลผลิตไม่มีการเก็บข้อมูลที่ครบถ้วน
ความคุ้มค่า กับเครื่องมือ PART คำถาม เอกสารประกอบ คำอธิบาย ข้อ ง-5 หน่วยงานมีกระบวนการจัดการที่ช่วยวัดผลและปรับการดำเนินงานให้มีประสิทธิภาพและความคุ้มค่า เอกสารหลักเกณฑ์การวัดผล QQCT 2) เอกสารหลักเกณฑ์และวิธีการวัด cost-effectiveness 1) ออกแบบหลักเกณฑ์และวิธีการวัดผล 2) ออกแบบระบบข้อมูลพื้นฐาน 3) กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้บริหาร ข้อ จ-3 ผลการดำเนินงานมีประสิทธิภาพสูงขึ้น มีความคุ้มค่า 1) รายงานการประเมินประสิทธิภาพ QQCT 2) รายงานประเมินผล cost-effectiveness
3. การวิเคราะห์ตัวชี้วัดของ มหาวิทยาลัยศิลปากร
ป ร ะ เ ด็ น การวิเคราะห์ ความสอดคล้องของ ผลผลิต ผลลัพธ์ และผลกระทบ ผลผลิต สอดคล้องกับคำนิยามหรือไม่ ตัวชี้วัดที่กำหนดมีคุณสมบัติ VARS/QQCT/2Q2T1P หรือไม่
ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ ผลผลิต (ข้อมูลจากเอกสารงบประมาณ ปี 2553) ตัวชี้วัด ผลกระทบ ตัวชี้วัด ประสิทธิผล ตัวชี้วัด ประสิทธิภาพ (Impact) (outcome) (output) ยุทธศาสตร์กระทรวง : 1. สร้างโอกาสทางการศึกษาและส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต 2. ยกระดับคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา 3. พัฒนาขีดความสามารถของประเทศโดยใช้ความรู้เป็นฐาน เป้าหมาย : ประชาชนได้รับโอกาสทางการศึกษาขั้นพื้นฐานตามสิทธิที่กำหนดไว้ ร้อยละของผู้ปกครองฯ ได้ลดภาระค่าใช้จ่ายตามรายการที่ได้รับสนับสนุนจากภาครัฐ (100%) ร้อยละของผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานได้รับการสนับสนุนฯ (100%) ร้อยละความพึงพอใจของผู้ปกครอง (80%) กลยุทธ์ : ส่งเสริมการผลิตและพัฒนากำลังคน เป้าหมาย : นักเรียนในสังกัดมหาวิทยาลัยได้รับโอกาสทางการศึกษาขั้นพื้นฐานตามสิทธิที่กำหนด จำนวนนักเรียนที่ได้รับโอกาสทางการศึกษาขั้นพื้นฐานตามสิทธิ (938 คน) ผลผลิตที่ : โครงการสนับสนุนการจัดการศึกษาโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย 15 ปี (โรงเรียนสาธิต) จำนวนนักเรียนที่ได้รับการสนับสนุนตามโครงการ (938 คน) ร้อยละผู้ปกครองสามารถลดค่าใช้จ่ายตามรายการที่ได้รับการสนับสนุน (100%) ต่อ
ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ ผลผลิต (ข้อมูลจากเอกสารงบประมาณ ปี 2552) ความเห็น ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ ผลผลิต (ข้อมูลจากเอกสารงบประมาณ ปี 2552) ตัวชี้วัด ผลกระทบ ตัวชี้วัด ประสิทธิผล ตัวชี้วัด ประสิทธิภาพ (Impact) (outcome) (output) ยุทธศาสตร์กระทรวง : 1. สร้างโอกาสทางการศึกษาและส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต 2. ยกระดับคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา 3. พัฒนาขีดความสามารถของประเทศโดยใช้ความรู้เป็นฐาน เป้าหมาย : ประชาชนได้รับโอกาสทางการศึกษาขั้นพื้นฐานตามสิทธิที่กำหนดไว้ (ปีการศึกษาเฉลี่ยเพิ่มขึ้น) กลยุทธ์ : ส่งเสริมและพัฒนากำลังคน เป้าหมาย : นักเรียนในสังกัดมหาวิทยาลัยได้รับโอกาสทางการศึกษาขั้นพื้นฐานตามสิทธิที่กำหนด จำนวนนักเรียนที่ออกกลางคันลดลง ร้อยละความพึงพอใจของผู้ปกครอง สัดส่วนนักเรียนต่อประชากรในแต่ละระดับชั้นเพิ่มขึ้น ผลผลิตที่ : โครงการสนับสนุนการจัดการศึกษาโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย 15 ปี (โรงเรียนสาธิต) จำนวนนักเรียนที่ได้รับการสนับสนุนตามโครงการ (938 คน) ร้อยละของผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานที่ได้รับการสนับสนุน
ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ ผลผลิต (ข้อมูลจากเอกสารงบประมาณ ปี 2553) ตัวชี้วัด ผลกระทบ ตัวชี้วัด ประสิทธิผล ตัวชี้วัด ประสิทธิภาพ (Impact) (outcome) (output) ยุทธศาสตร์กระทรวง : 1. สร้างโอกาสทางการศึกษาและส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต 2. ผลิตและพัฒนากำลังคนเพื่อสนับสนุนทิศทางการพัฒนาประเทศ เป้าหมาย : คนไทยได้รับการพัฒนาให้มีศักยภาพในการดำรงชีวิต ประกอบอาชีพและเสริมสร้างการแข่งขันของประเทศ สัดส่วนผู้เรียนอาชีวศึกษา : สายสามัญ (50 : 50) สัดส่วนผู้เรียนสายวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีต่อสายสังคมในสถาบันอุดมศึกษา (จำกัดรับระดับ อนุ ป.-ป.ตรี) (40:60) กลยุทธ์ : ส่งเสริมการผลิตและพัฒนากำลังคนที่สอดคล้องกับการพัฒนาประเทศ เป้าหมาย : 2 ผลิตกำลังคนที่มีคุณภาพตามความต้องการของประเทศ ร้อยละผู้สำเร็จการศึกษาที่ได้งานตรงสาขา (72%) ร้อยละความพึงพอใจของนายจ้างที่มีต่อผู้สำเร็จการศึกษา (75%) ร้อยละของผู้สำเร็จการศึกษาที่ได้งานทำ/ศึกษาต่อ/หรือ ประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี (66 %) ผลผลิตที่ : 1 ผู้สำเร็จการศึกษาด้านสังคมศาสตร์ - จัดการเรียนการสอนฯ จำนวนผู้สำเร็จการศึกษา (1,536 คน) ร้อยละผู้สำเร็จการศึกษาที่จบตามมาตรฐานหลักสูตร (100%) ร้อยละผู้สำเร็จการศึกษาที่จบการศึกษาภายในระยะเวลาที่กำหนด (90%) ค่าใช้จ่ายการผลิตตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร (412.7 ล้านบาท) ต่อ
ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ ผลผลิต (ข้อมูลจากเอกสารงบประมาณ ปี 2552) ความเห็น ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ ผลผลิต (ข้อมูลจากเอกสารงบประมาณ ปี 2552) ตัวชี้วัด ผลกระทบ ตัวชี้วัด ประสิทธิผล ตัวชี้วัด ประสิทธิภาพ (Impact) (outcome) (output) ยุทธศาสตร์กระทรวง : 1. สร้างโอกาสทางการศึกษาและส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต 2. ผลิตและพัฒนากำลังคนเพื่อสนับสนุนทิศทางการพัฒนาประเทศ เป้าหมาย : คนไทยได้รับการพัฒนาให้มีศักยภาพในการดำรงชีวิต ประกอบอาชีพและเสริมสร้างการแข่งขันของประเทศ รายได้ของผู้สำเร็จการศึกษาสูงขึ้น/คุณภาพชีวิตดีขึ้น ระดับการแข่งขันด้าน ว&ท ของประเทศสูงขึ้น กลยุทธ์ : ส่งเสริมการผลิตและพัฒนากำลังคนที่สอดคล้องกับการพัฒนาประเทศ เป้าหมาย : 2 ผลิตกำลังคนที่มีคุณภาพตามความต้องการของประเทศ ร้อยละผู้สำเร็จการศึกษาที่ได้งานตรงสาขา (72%) ร้อยละความพึงพอใจของนายจ้างที่มีต่อผู้สำเร็จการศึกษา (75%) ผลผลิตที่ : 1 ผู้สำเร็จการศึกษาด้านสังคมศาสตร์ - จัดการเรียนการสอนฯ จำนวนผู้สำเร็จการศึกษา (1,536 คน) ร้อยละผู้สำเร็จการศึกษาที่จบตามมาตรฐานหลักสูตร (100%) ร้อยละผู้สำเร็จการศึกษาที่จบการศึกษาภายในระยะเวลาที่กำหนด (90%) ร้อยละค่าใช้จ่ายการผลิตจริงต่องบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ ผลผลิต (ข้อมูลจากเอกสารงบประมาณ ปี 2553) ตัวชี้วัด ผลกระทบ ตัวชี้วัด ประสิทธิผล ตัวชี้วัด ประสิทธิภาพ (Impact) (outcome) (output) ยุทธศาสตร์กระทรวง : 1. สร้างโอกาสทางการศึกษาและส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต 2. ผลิตและพัฒนากำลังคนเพื่อสนับสนุนทิศทางการพัฒนาประเทศ เป้าหมาย : คนไทยได้รับการพัฒนาให้มีศักยภาพในการดำรงชีวิต ประกอบอาชีพและเสริมสร้างการแข่งขันของประเทศ สัดส่วนผู้เรียนอาชีวศึกษา : สายสามัญ (50 : 50) สัดส่วนผู้เรียนสายวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีต่อสายสังคมในสถาบันอุดมศึกษา (จำกัดรับระดับ อนุ ป.-ป.ตรี) (40:60) กลยุทธ์ : ส่งเสริมการผลิตและพัฒนากำลังคนที่สอดคล้องกับการพัฒนาประเทศด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เป้าหมาย : 2 ขยายการผลิตกำลังคนด้าน ว&ท และสาขาที่ขาดแคลนเพื่อตอบสนองความต้องการพัฒนาประเทศ ร้อยละของผู้สำเร็จการศึกษาที่ได้งานทำตรงสาขา (79%) ร้อยละความพึงพอใจของนายจ้างที่มีต่อผู้สำเร็จการศึกษา (79%) ร้อยละของผู้สำเร็จการศึกษาที่ได้งานทำ ศึกษาต่อ ประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี (76 %) ผลผลิตที่ : 1 ผู้สำเร็จการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี - จัดการเรียนการสอนฯ จำนวนผู้สำเร็จการศึกษา (1,005 คน) ร้อยละของผู้สำเร็จการศึกษาจบตามมาตรฐานหลักสูตร (100%) ร้อยละของผู้สำเร็จการศึกษาตามหลักสูตรภายในระยะกำหนด (90%) ค่าใช้จ่ายการผลิตตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร (261.3 ล้านบาท) ต่อ
ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ ผลผลิต (ข้อมูลจากเอกสารงบประมาณ ปี 2553) ความเห็น ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ ผลผลิต (ข้อมูลจากเอกสารงบประมาณ ปี 2553) ตัวชี้วัด ผลกระทบ ตัวชี้วัด ประสิทธิผล ตัวชี้วัด ประสิทธิภาพ (Impact) (outcome) (output) ยุทธศาสตร์กระทรวง : 1. สร้างโอกาสทางการศึกษาและส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต 2. ผลิตและพัฒนากำลังคนเพื่อสนับสนุนทิศทางการพัฒนาประเทศ เป้าหมาย : คนไทยได้รับการพัฒนาให้มีศักยภาพในการดำรงชีวิต ประกอบอาชีพและเสริมสร้างการแข่งขันของประเทศ รายได้ของผู้สำเร็จการศึกษาสูงขึ้น/คุณภาพชีวิตดีขึ้น ระดับการแข่งขันด้าน ว&ท ของประเทศสูงขึ้น กลยุทธ์ : ส่งเสริมและพัฒนาการเรียนการสอนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เป้าหมาย : ขยายการผลิตกำลังคนด้าน ว&ท และสาขาที่ขาดแคลนเพื่อตอบสนองความต้องการพัฒนาประเทศ ร้อยละของผู้สำเร็จการศึกษาที่ได้งานทำตรงสาขา (80%) ร้อยละความพึงพอใจของนายจ้างที่มีต่อผู้สำเร็จการศึกษา (70%) ผลผลิตที่ : 1. ผู้สำเร็จการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี - จัดการเรียนการสอน จำนวนผู้สำเร็จการศึกษา (2,903 คน) ร้อยละของผู้สำเร็จการศึกษาจบตามมาตรฐานหลักสูตร (100%) ร้อยละของผู้สำเร็จการศึกษาตามหลักสูตรภายในระยะกำหนด (90%) ร้อยละค่าใช้จ่ายการผลิตจริงต่องบประมาณที่ได้รับจัดสรร ต่อ
ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ ผลผลิต (ข้อมูลจากเอกสารงบประมาณ ปี 2553) ตัวชี้วัด ผลกระทบ ตัวชี้วัด ประสิทธิผล ตัวชี้วัด ประสิทธิภาพ (Impact) (outcome) (output) ยุทธศาสตร์กระทรวง : 1. สร้างโอกาสทางการศึกษาและส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต 2. ผลิตและพัฒนากำลังคนเพื่อสนับสนุนทิศทางการพัฒนาประเทศ เป้าหมาย : คนไทยได้รับการพัฒนาให้มีศักยภาพในการดำรงชีวิต ประกอบอาชีพและเสริมสร้างการแข่งขันของประเทศ สัดส่วนผู้เรียนอาชีวศึกษา : สายสามัญ (50 : 50) สัดส่วนผู้เรียนสายวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีต่อสายสังคมในสถาบันอุดมศึกษา (จำกัดรับระดับ อนุ ป.-ป.ตรี) (40:60) กลยุทธ์ : ส่งเสริมการผลิตและพัฒนากำลังคนที่สอดคล้องกับการพัฒนาประเทศด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ เป้าหมาย : ขยายการผลิตกำลังคนด้าน ว&ท และสาขาที่ขาดแคลนเพื่อตอบสนองความต้องการพัฒนาประเทศ ร้อยละของผู้สำเร็จการศึกษาที่ได้งานทำตรงสาขา (79%) ร้อยละความพึงพอใจของนายจ้างที่มีต่อผู้สำเร็จการศึกษา (79%) ร้อยละของผู้สำเร็จการศึกษาที่ได้งานทำ ศึกษาต่อ ประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี (76 %) ผลผลิตที่ : 2 ผู้สำเร็จการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ - จัดการเรียนการสอนด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ จำนวนผู้สำเร็จการศึกษา (100 คน) ร้อยละผู้สำเร็จการศึกษาตามมาตรฐานหลักสูตร (100%) ผู้สำเร็จการศึกษาที่จบการศึกษาตามหลักสูตรภายในระยะเวลาที่กำหนด (90%) ค่าใช้จ่ายการผลิตตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร (99.5 ล้านบาท) ต่อ
ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ ผลผลิต (ข้อมูลจากเอกสารงบประมาณ ปี 2553) ความเห็น ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ ผลผลิต (ข้อมูลจากเอกสารงบประมาณ ปี 2553) ตัวชี้วัด ผลกระทบ ตัวชี้วัด ประสิทธิผล ตัวชี้วัด ประสิทธิภาพ (Impact) (outcome) (output) ยุทธศาสตร์กระทรวง : 1. สร้างโอกาสทางการศึกษาและส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต 2. ผลิตและพัฒนากำลังคนเพื่อสนับสนุนทิศทางการพัฒนาประเทศ เป้าหมาย : คนไทยได้รับการพัฒนาให้มีศักยภาพในการดำรงชีวิต ประกอบอาชีพและเสริมสร้างการแข่งขันของประเทศ รายได้ของผู้สำเร็จการศึกษาสูงขึ้น/คุณภาพชีวิตดีขึ้น ระดับการแข่งขันด้าน ว&ท ของประเทศสูงขึ้น กลยุทธ์ : ส่งเสริมการผลิตและพัฒนากำลังคนที่สอดคล้องกับการพัฒนาประเทศด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ เป้าหมาย : ขยายการผลิตกำลังคนด้าน ว&ท และสาขาที่ขาดแคลนเพื่อตอบสนองความต้องการพัฒนาประเทศ ร้อยละของผู้สำเร็จการศึกษาที่ได้งานทำตรงสาขา (79%) ร้อยละความพึงพอใจของนายจ้างที่มีต่อผู้สำเร็จการศึกษา (79%) ผลผลิตที่ : 2 ผู้สำเร็จการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ - จัดการเรียนการสอนด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ จำนวนผู้สำเร็จการศึกษา (100 คน) ร้อยละผู้สำเร็จการศึกษาตามมาตรฐานหลักสูตร (100%) ผู้สำเร็จการศึกษาที่จบการศึกษาตามหลักสูตรภายในระยะเวลาที่กำหนด (90%) ร้อยละค่าใช้จ่ายจริงต่องบประมาณที่ได้รับการจัดสรร ต่อ
ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ ผลผลิต (ข้อมูลจากเอกสารงบประมาณ ปี 2553) ตัวชี้วัด ผลกระทบ ตัวชี้วัด ประสิทธิผล ตัวชี้วัด ประสิทธิภาพ (Impact) (outcome) (output) ยุทธศาสตร์กระทรวง : 1.พัฒนาผลงานวิจัยเพื่อสร้างองค์ความรู้และนวัตกรรมที่สอดคล้องกับการพัฒนาประเทศ 2.สร้างโอกาสทางการศึกษาและส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต เป้าหมาย : ประชาชนได้รับการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิตที่มีมาตรฐาน คุณภาพ ร้อยละประชากรในวัยเรียนในระบบโรงเรียนได้รีบการศึกษาภาคบังคับ/ม.ศ. ปลาย (100/75) จำนวนผู้รับบริการการศึกษานอกระบบและตามอัธยาศัย (1.2 ล้านคน) จำนวนปีการศึกษาเฉลี่ย (ผู้มีอายุ 15-59 ปี) (9.64 ปี) ร้อยละของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนขั้นพื้นฐานเพิ่มขึ้น (6%) กลยุทธ์ : บริการวิชาการที่สร้างคุณค่าให้แก่มหาวิทยาลัยและสร้างความเข้มแข็งให้ชุมชนและประยุกต์ด้วยเทคโนโลยีและภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มในสินค้าและบริหารของชุมชน บริการวิชาการแก่หน่วยงาน/ประชาชนในชุมชนและสังคมให้มีความรู้ ความสามารถในการพัฒนาตนเองเพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันของประเทศ ร้อยละของผู้เข้ารับบริการนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ (85%) ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ/หน่วยงาน/องค์กรต่อประโยชน์จากการบริการ (85%) ผลผลิตที่ : 4 1. ผลงานการให้บริการวิชาการ - จัดอบรมและสัมมนาเชิงวิชาการหรือปฏิบัติการ จำนวนโครงการบริการวิชาการแก่สังคม (47 โครงการ) จำนวนผู้เข้ารับบริการ (14,571 คน) ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ (85%) ร้อยละของงานบริการวิชาการแล้วเสร็จตามระยะเวลา (90%) ค่าใช้จ่ายของการให้บริการตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร (22.5 ล้านบาท) ต่อ
ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ ผลผลิต (ข้อมูลจากเอกสารงบประมาณ ปี 2553) ความเห็น ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ ผลผลิต (ข้อมูลจากเอกสารงบประมาณ ปี 2553) ตัวชี้วัด ผลกระทบ ตัวชี้วัด ประสิทธิผล ตัวชี้วัด ประสิทธิภาพ (Impact) (outcome) (output) ยุทธศาสตร์กระทรวง : 1.พัฒนาผลงานวิจัยเพื่อสร้างองค์ความรู้และนวัตกรรมที่สอดคล้องกับการพัฒนาประเทศ 2.สร้างโอกาสทางการศึกษาและส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต เป้าหมาย : ประชาชนได้รับการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิตที่มีมาตรฐาน คุณภาพ จำนวนปีการศึกษาเฉลี่ย (ผู้มีอายุ 15-59 ปี) (9.64 ปี) ระดับความสามารถในการแข่งขันด้านการศึกษาสูงขึ้น กลยุทธ์ : ส่งเสริมการบริการวิชาการในการพัฒนาคุณภาพ และการแข่งขัน บริการวิชาการแก่หน่วยงาน/ประชาชนในชุมชนและสังคมให้มีความรู้ ความสามารถในการพัฒนาตนเองเพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันของประเทศ ร้อยละของผู้เข้ารับบริการนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ (85%) ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ/หน่วยงาน/องค์กรต่อประโยชน์จากการบริการ (85%) ผลผลิตที่ : 4 ผลงานการให้บริการวิชาการ - จัดอบรมและสัมมนาเชิงวิชาการหรือปฏิบัติการ จำนวนผู้เข้ารับบริการ (14,571 คน) ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการในกระบวนการให้บริการ (85%) ร้อยละของงานบริการวิชาการแล้วเสร็จตามเวลาที่กำหนด (90%) ร้อยละค่าใช้จ่ายของการให้บริการจริงต่องบประมาณที่ได้รับจัดสรร ต่อ
ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ ผลผลิต (ข้อมูลจากเอกสารงบประมาณ ปี 2553) ตัวชี้วัด ผลกระทบ ตัวชี้วัด ประสิทธิผล ตัวชี้วัด ประสิทธิภาพ (Impact) (outcome) (output) ยุทธศาสตร์กระทรวง : 1. ส่งเสริม/สนับสนุนการวิจัยพัฒนาถ่ายทอดเทคโนโลยีและสร้างนวัตกรรม 2. พัฒนาขีดความสามารถของประเทศโดยใช้ความรู้เป็นฐาน เป้าหมาย 4 : มีผลงานวิจัยและนวัตกรรมที่ได้รับการเผยแพร่หรือนำไปใช้ประโยชน์เพิ่มขึ้น จำนวนผลงานวิจัยที่เผยแพร่ (3,929 เรื่อง) กลยุทธ์ : 1) พัฒนางานวิจัยเชิงบูรณาการเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการป้องกันการแก้ไขปัญหาของชุมชนและสังคม 2) สร้างองค์ความรู้ใหม่จากงานวิจัยขั้นพื้นฐานในทุกสาขาวิชา เป้าหมาย : วิจัยและพัฒนา รวมทั้งถ่ายทอดความรู้ และสร้างนวัตกรรมที่นำไปสู่การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของท้องถิ่นและของประเทศ จำนวนงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ที่ตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารระดับชาติและนานาชาติ (25 เรื่อง) จำนวนบทความวิจัยที่ได้รับการอ้างอิงในวารสารวิชาการหรือฐานข้อมูลระดับชาติ/นานาชาติ (12 เรื่อง) ผลผลิตที่ : 5 และ 6 1. ผลงานวิจัยเพื่อสร้างองค์ความรู้ 2. ผลงานวิจัยเพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยี จำนวนโครงการวิจัย (15/26 โครงการ) จำนวนผลงานวิจัยเป็นไปตามมาตรฐานที่กำหนด (12/21 โครงการ) จำนวนโครงการที่แล้วเสร็จภายในเวลาที่กำหนด (ร้อยละ 12/21) ค่าใช้จ่ายงบการวิจัย (6.2/28.8 ล้านบาท) ต่อ
ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ ผลผลิต (ข้อมูลจากเอกสารงบประมาณ ปี 2553) ความเห็น ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ ผลผลิต (ข้อมูลจากเอกสารงบประมาณ ปี 2553) ตัวชี้วัด ผลกระทบ ตัวชี้วัด ประสิทธิผล ตัวชี้วัด ประสิทธิภาพ (Impact) (outcome) (output) ยุทธศาสตร์กระทรวง : 1. ส่งเสริม/สนับสนุนการวิจัยพัฒนาถ่ายทอดเทคโนโลยีและสร้างนวัตกรรม 2. พัฒนาขีดความสามารถของประเทศโดยใช้ความรู้เป็นฐาน เป้าหมาย 4 : ความสามารถในการแข่งขันด้านนวัตกรรมของประเทศเพิ่มขึ้น (ปรับปรุงใหม่ให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์) อันดับความสามารถในการแข่งขันด้านนวัตกรรมของประเทศเพิ่มขึ้น กลยุทธ์ : ส่งเสริมผลงานวิจัยที่มีศักยภาพในการพัฒนาเชิงพาณิชย์ และเพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยีและนวัตกรรม เป้าหมาย : วิจัยและพัฒนา รวมทั้งถ่ายทอดความรู้ และสร้างนวัตกรรมที่นำไปสู่การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของท้องถิ่นและของประเทศ ร้อยละงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ที่ตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารระดับชาติและนานาชาติ ร้อยละบทความวิจัยที่ได้รับการอ้างอิงในวารสารวิชาการหรือฐานข้อมูลระดับชาติ/นานาชาติ ร้อยละผลงานวิจัย/นวัตกรรมที่นำไปใช้เชิงพาณิชย์ ร้อยละผลงานวิจัยที่นำไปใช้ประโยชน์ภายในเวลาที่กำหนด (80 %) ผลผลิตที่ : ผลงานวิจัยเพื่อสร้างองค์ความรู้ ผลงานวิจัยเพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยี จำนวนประชาชนเป้าหมายที่อ่านผลงานวิจัยที่เผยแพร่ภายในเวลาที่กำหนด สัดส่วนผลงานวิจัยที่เผยแพร่ สัดส่วนโครงการวิจัยที่มาตรฐานและเสร็จในเวลาที่กำหนด ร้อยละค่าใช้จ่ายจริงต่องบประมาณที่ได้รับจัดสรร ต่อ
ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ ผลผลิต (ข้อมูลจากเอกสารงบประมาณ ปี 2553) ตัวชี้วัด ผลกระทบ ตัวชี้วัด ประสิทธิผล ตัวชี้วัด ประสิทธิภาพ (Impact) (outcome) (output) ยุทธศาสตร์กระทรวง : 1. พัฒนาองค์ความรู้ และสถาบันการศึกษาให้เป็นแหล่งเรียนรู้ แลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรม ประเพณีดีงามของไทย 2. ปลุกจิตสำนึกและกระตุ้นให้เกิดการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมไทย เป้าหมาย : ประชาชนได้รับความรู้ ความเข้าใจและเห็นความสำคัญของศิลปวัฒนธรรมไทย นักเรียน นักศึกษาได้รับการปลูกฝังในด้านการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมไทย (90%) กลยุทธ์ : เผยแพร่ความรู้ และสร้างจิตสำนึกในการอนุรักษ์ทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมสู่สาธารณชน เพื่อปลูกฝัง ค่านิยมให้นักศึกษาและชุมชนในการสืบสานสร้างสรรค์ และอนุรักษ์ทำนุบำรุง ศิลปวัฒนธรรมไทย จำนวนกิจกรรมที่มีการเผยแพร่ด้านทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม (25 โครงการ) ร้อยละของความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการต่อประโยชน์ของการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม ( 85%) ผลผลิตที่ : ผลงานทำนุ บำรุงศิลปวัฒนธรรม ส่งเสริมทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการศิลปวัฒนธรรม (9,740 คน) จำนวนโครงการศิลปวัฒนธรรม (25 โครงการ) ร้อยละโครงการที่บรรลุผลตามวัตถุประสงค์โครงการ (94%) ร้อยละโครงการที่แล้วเสร็จตามเวลาที่กำหนด (90%) ค่าใช้จ่ายของการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมตามงบที่ได้รับจัดสรร (18.7 ล้านบาท) ต่อ
ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ ผลผลิต (ข้อมูลจากเอกสารงบประมาณ ปี 2553) ความเห็น ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ ผลผลิต (ข้อมูลจากเอกสารงบประมาณ ปี 2553) ตัวชี้วัด ผลกระทบ ตัวชี้วัด ประสิทธิผล ตัวชี้วัด ประสิทธิภาพ (Impact) (outcome) (output) ยุทธศาสตร์กระทรวง : 1. พัฒนาองค์ความรู้ และสถาบันการศึกษาให้เป็นแหล่งเรียนรู้ แลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรม ประเพณีดีงามของไทย 2. ปลุกจิตสำนึกและกระตุ้นให้เกิดการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมไทย เป้าหมาย : ประชาชนได้รับความรู้ ความเข้าใจและเห็นความสำคัญของศิลปวัฒนธรรมไทย ศิลปวัฒนธรรมไทยที่ดีไม่สูญหาย กลยุทธ์ : ส่งเสริมการบริการสืบสานและเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรม เพื่อเสริมสร้างค่านิยมให้นักศึกษาและชุมชนในการอนุรักษ์ทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมไทย ร้อยละของผู้เข้าร่วมโครงการศิลปวัฒนธรรมที่ทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมไทย ร้อยละของ นักเรียน/นักศึกษาที่ทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมไทย (ดูว่าการปลูกฝังทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมไทยมีอะไรบ้าง) ร้อยละของโครงการที่บรรลุวัตถุประสงค์โครงการ (94%) (ต้องเป็นวัตถุประสงค์ที่เป็นผลลัพธ์) ผลผลิตที่ : ผลงานทำนุ บำรุงศิลปวัฒนธรรม ส่งเสริมทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม จำนวนประชาชนที่ได้ความรู้จากโครงการที่มีการเผยแพร่ด้านทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม (เป้าหมายโครงการ) นักเรียน นักศึกษาได้รับการปลูกฝังในด้านการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมไทย (90%) ร้อยละของค่าใช้จ่ายจริงต่องบประมาณที่ได้รับจัดสรร
ตัวอย่าง การสรุปผลการประเมินความคุ้มค่าฯ ตัวอย่าง การสรุปผลการประเมินความคุ้มค่าฯ กรมที่ดิน ผลผลิต : การออกโฉนดที่ดินให้ประชาชน มิติประสิทธิภาพ 2550 2551 % เพิ่ม/ลด ต้นทุนต่อหน่วย (บาท/แปลง) 2,816 3,301 17.2 ผลผลิตเทียบกับเป้าหมาย (%) 110 103 - ระดับความพอใจของประชาชนต่อกระบวนการให้บริการ (การเดินสำรวจออกโฉนด) 76 % 85.8 มิติผลกระทบ/ผลลัพธ์ ประชาชนมีความมั่นคงฯ สามารถนำโฉนดไปเป็นหลักประกันต่างๆ ที่ดินมีมูลค่าสูงขึ้น/ลดข้อพิพาทเรื่องแนวเขตที่ดิน ก่อให้เกิดการปรับปรุงที่ดินทำให้สภาพแวดล้อมดีขึ้น
ตัวอย่าง การสรุปผลการประเมินความคุ้มค่าฯ (ต่อ) ตัวอย่าง การสรุปผลการประเมินความคุ้มค่าฯ (ต่อ) สรุป : ความคุ้มค่าของการออกโฉนดที่ดิน ปี 2551 การดำเนินงานออกโฉนดมีความคุ้มค่าเพราะสามารถให้บริการได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีผลผลิตสูงกว่าเป้าหมายร้อยละ 3 ประชาชนมีความพึงพอใจในกระบวนการทำงานสูงกว่าแผนร้อยละ 5.8 ถึงแม้จะมีต้นทุนเพิ่มขึ้น เพราะประชาชนได้รับบริการตามเป้าหมาย และสามารถใช้เป็นหลักประกันความมั่นคงในกรรมสิทธิ์และสร้างโอกาสเข้าถึงแหล่งทุนในระบบให้มีรายได้มากขึ้น รวมทั้งลดข้อพิพาทเรื่องเขตที่ดิน สมควรทำภารกิจนี้ต่อไป สำหรับการดำเนินงานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ จะทำระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์มาไว้ในการวางแผนสำรวจออกโฉนดที่ดิน รวมทั้งนำระบบข้อมูลงานทะเบียนโปรแกรม SUR 32 มาใช้ประเมินผลการปฏิบัติงานและสมรรถนะของเจ้าหน้าที่
ตัวอย่าง การสรุปผลการประเมินความคุ้มค่าฯ ตัวอย่าง การสรุปผลการประเมินความคุ้มค่าฯ กรมสุขภาพจิต ผลผลิต : ประชาชาชนได้รับบริการเฉพาะทางด้านสุขภาพจิต มิติประสิทธิภาพ 2550 2551 % เพิ่ม/ลด ต้นทุนต่อหน่วย (บาท) 2,141 2,285 6.7 ผลผลิตจริงเทียบกับเป้าหมาย (ผู้ได้รับการบำบัด) (ร้อยละ) 150.3 158.7 - ผู้ป่วยจากระบบส่งต่อเทียบกับเป้าหมาย (ร้อยละ) 216.7 224.5 สัดส่วนค่าใช้จ่ายจริง/เป้าหมาย (เท่า) 1.5 1.6 ความพึงพอใจของประชาชนต่อกระบวนการให้บริการ (ร้อยละ) 87 86 (เป้าหมาย 85%) มิติประสิทธิผล ประชาชนสามารถจัดการความเครียด (ร้อยละ) 95.5 92.3 สูงกว่าเป้า 134 % ผู้ป่วยจิตเวชไม่ต้องกลับมารักษาซ้ำภายใน 28 วัน (ร้อยละ) 97 98.4 สูงกว่าเป้า 100.5 % ผลกระทบ ประชาชนมีสุขภาพจิตดี (ร้อยละ) 70.2 82 สูงกว่าเป้า 109 %
ตัวอย่าง การสรุปผลการประเมินความคุ้มค่าฯ (ต่อ) ตัวอย่าง การสรุปผลการประเมินความคุ้มค่าฯ (ต่อ) สรุป : ความคุ้มค่าของการรักษาด้านสุขภาพจิต ปี 2551 การดำเนินงานรักษาด้านสุขภาพจิตมีความคุ้มค่าเพราะการทำงานมีประสิทธิภาพ โดยให้บริการได้สูงกว่าเป้าหมายร้อยละ 58.7 และประชาชนพึงพอใจต่อระบบการให้บริการถึงร้อยละ 86 สูงกว่าเป้าที่กำหนดไว้ร้อยละ 85 และการดำเนินงานบรรลุวัตถุประสงค์ โดยผู้ป่วยไม่กลับมารักษาซ้ำภายใน 28 วัน ถึงร้อยละ 98.4 สูงกว่าเป้าร้อยละ 0.5 และทำให้ประชาชนมีสุขภาพจิตดีถึงร้อยละ 82 สูงกว่าเป้าร้อยละ 9 ดังนั้น สมควรคงสภาพภารกิจไว้ต่อไป การพัฒนาประสิทธิภาพในอนาคตจะจัดทำแผนการใช้ทรัพยากรระหว่างโรงพยาบาลจิตเวชและผู้มีสุขภาพจิตร่วมกัน เพื่อป้องกันปัญหาสุขภาพจิตแก่ประชาชนทุกลุ่ม ตลอดจนเสริมสร้างศักยภาพเครือข่ายบริการสาธารณสุขให้ปฏิบัติงานสุขภาพจิตได้อย่างเต็มที่
สวัสดี www.nesdb.go.th Somchai-s@nesdb.go.th
ตัวอย่างแบบฟอร์ม 3.1 ก. ผลผลิตที่ตอบสนองผลลัพธ์ที่เป็นภารกิจหลักโดยตรงที่จะต้อง “ประเมินประสิทธิผล” และ “ประเมินประสิทธิภาพ” ...................................................................................................................... ข. กิจกรรมหรือโครงการซึ่งสามารถปันส่วนค่าใช้จ่ายได้ ค. ผลผลิตที่ไม่เข้าข่ายในการประเมินความคุ้มค่า นำผลผลิตที่แสดงในรายงานงบประมาณ ประจำปีมาแสดงในส่วนนี้ นำกิจกรรมหรือโครงการที่สนับสนุนให้เกิด ผลผลิตมากกว่า 1 ผลผลิตมาแสดงในส่วนนี้ นำผลผลิต หรือ โครงการที่ไม่เข้าข่ายการประเมินความคุ้มค่ามาแสดงใน ส่วนนี้ ในกรณีที่ส่งผลต่อหน่วยงานอื่น ควรแจ้งหน่วยงานที่ได้รับ ผลประโยชน์นั้นทราบ เพื่อจะได้นำข้อมูลไปประเมินความคุ้มค่าต่อไป
ตัวชี้วัดประสิทธิภาพ ความสมบูรณ์ ของข้อมูล ตัวอย่างแบบฟอร์ม 3.2 เป้าหมายการให้บริการกระทรวง เป้าหมายการให้บริการหน่วยงาน ผลผลิต ตัวชี้วัดผลกระทบ ตัวชี้วัดประสิทธิผล ตัวชี้วัดประสิทธิภาพ แหล่งที่มา ของข้อมูล หน่วยงานรับผิดชอบ ความมีอยู่ของข้อมูล ความสมบูรณ์ ของข้อมูล
ตัวอย่างแบบฟอร์ม 3.3 การวิเคราะห์ผลประโยชน์ค่าใช้จ่าย ผลประโยชน์ 1.1 ผลประโยชน์ทางตรงที่คิดมูลค่าเป็นเงินได้ ลักษณะของผลประโยชน์ มูลค่า (บาท) ผู้รับบริการกลุ่มเป้าหมาย ข้อมูลในส่วนนี้จะใช้ในการรายงานผลตามตัวชี้วัด Benefit/Cost Ratio (ดูนิยาม) 1.2 ผลประโยชน์ทางอ้อมที่คิดมูลค่าเป็นเงินได้ ลักษณะของผลประโยชน์ มูลค่า (บาท) ผู้รับบริการกลุ่มเป้าหมาย ข้อมูลในส่วนนี้จะใช้ในการรายงานผลตามตัวชี้วัด Cost Effectiveness ถ้าไม่สามารถแสดงผลที่เป็นตัวเลขได้ (ดูนิยามประกอบ) 1.3 ผลประโยชน์ที่คิดมูลค่าเป็นเงินไม่ได้ (ถ้ามีให้อธิบายเชิงพรรณนา) ลักษณะของผลประโยชน์ มูลค่า (บาท) ผู้รับบริการกลุ่มเป้าหมาย
ลักษณะของความสูญเสียหรือค่าใช้จ่ายเชิงสังคม ตัวอย่างแบบฟอร์ม 3.3 (ต่อ) 2. ค่าใช้จ่าย 2.1 ค่าใช้จ่ายงบประมาณแผ่นดินโดยตรง ก. ค่าใช้จ่ายจากงบประมาณแผ่นดินโดยตรงของผลผลิต/โครงการ ระบุหมวดค่าใช้จ่าย มูลค่า (บาท) งบดำเนินการ (ไม่ร่วมงบบุคลากร ข้อมูลจากกิจกรรม/โครงการตามที่ระบุในแบบฟอร์มที่ 3.1 ข้อ ข ข. ค่าใช้จ่ายจากงบประมาณแผ่นดินโดยตรงที่ปันส่วน ระบุหมวดค่าใช้จ่าย มูลค่า (บาท) งบดำเนินการที่ปันส่วน (ไม่ร่วมงบบุคลากร) ให้รวมค่าใช้จ่ายที่หน่วยงานอื่น ทั้งภายในและต่างประเทศได้สนับสนุน หรือดำเนินการแทนในบางกิจกรรม/โครงการ 2.2 ค่าใช้จ่ายจากเงินนอกงบประมาณ ระบุหมวดค่าใช้จ่าย มูลค่า (บาท) งบดำเนินการ (ไม่ร่วมงบบุคลากร) 2.3 ค่าใช้จ่ายทางอ้อมที่ผู้อื่นช่วยจ่ายให้ ระบุหมวดค่าใช้จ่าย มูลค่า (บาท) งบดำเนินการที่ปันส่วน (ไม่ร่วมงบบุคลากร) อาจแสดงความสูญเสียในเชิงปริมาณ คุณภาพ ผลิตภาพ ภาพลักษณ์ ความเชื่อมั่น เป็นต้น ข้อมูลในส่วนนี้จะนำไปแสดงในแบบฟอร์มที่ 3.4 ให้หัวข้อ มิติผลกระทบ 2.4 ค่าใช้จ่ายที่คิดมูลค่าเป็นเงินไม่ได้ (ถ้ามีให้อธิบายเชิงพรรณนา) ประเภทความสูญเสีย ลักษณะของความสูญเสียหรือค่าใช้จ่ายเชิงสังคม ความสูญเสียด้านสังคมและวัฒนธรรม ความสูญเสียด้านการเมืองและการบริหารภาครัฐ ความสูญเสียด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ความสูญเสียด้านอื่นๆ
ตัวอย่างแบบฟอร์ม 3.4 รายงานผล ประสิทธิภาพ รายงานผล ประสิทธิผล (ให้แสดงผลการประเมินตัวชี้วัดประสิทธิภาพ และเปรียบเทียบกับแผนประจำปีที่กำหนดไว้ กรณีที่ไม่สามารถเปรียบเทียบได้ให้แสดงเหตุผล) ต้นทุน ปริมาณผลผลิตที่ทำได้จริงเปรียบเทียบกับแผน คุณภาพตามมาตรฐานที่กำหนดตามคู่มือการประกันคุณภาพและควบคุมคุณภาพ สัดส่วนเวลาที่ใช้จริงในการให้บริการเปรียบเทียบกับระยะเวลาที่กำหนด อาจนำต้นทุนต่อหน่วยที่คำนวณตามแนวทาง GFMIS ตามที่กรมบัญชีกลางกำหนด กรณีที่หน่วยงานมีการปรับปรุงข้อมูลการดำเนินงานของกิจกรรม/โครงการ หรือค่าใช้จ่าย อาจคำนวณต้นทุนต่อหน่วยขึ้นใหม่ ควรพิจารณาผลการดำเนินงานของผลผลิต โดยอาจรายงานผลตามตัวชี้วัดที่แสดงในเชิงปริมาณ เหมาะสำหรับการรายงานผลการบรรลุความสำเร็จตามมาตรฐานที่กำหนด ซึ่งควรระบุถึงคู่มือการประกันคุณภาพและควบคุมภาพประกอบ เหมาะสำหรับผลผลิตที่มีการกำหนดตัวชี้วัดเป็นระยะเวลาในการดำเนินการ/ให้บริการ โดยเปรียบเทียบผลกับแผน ควรแสดงผลของตัวชี้วัด 4 ตัวนี้เป็นหลัก หากไม่สามารถรายงานผลได้ จึงใช้ตัวชี้วัดในลำดับต่อไป ประสิทธิผล รายงานผล (ให้แสดงผลการประเมินตัวชี้วัดประสิทธิผล และเปรียบเทียบกับปีที่ผ่านมา กรณีที่ไม่สามารถเปรียบเทียบได้ให้แสดงเหตุผล) Benefit-Cost Ratio Cost-Effectiveness แสดงผลของสัดส่วนผลประโยชน์ที่คิดมูลค่าเป็นเงินได้และคิดมูลค่าเป็นเงินไม่ได้ (จากข้อ 1.1, 1.2 และ 1.3 ในแบบฟอร์มที่ 3.3) โดยอาจจำแนกตามผู้รับบริการกลุ่มเป้าหมาย และกลุ่มสังคม แสดงผลของผลลัพธ์ที่ผู้รับบริการกลุ่มเป้าหมาย และกลุ่มสังคม (จากข้อ 1.3 ในแบบฟอร์มที่ 3.3) ต่อค่าใช้จ่ายทั้งหมด (ผลรวมจากข้อ 2.1-2.4 ในแบบฟอร์มที่ 3.3) ในเชิงพรรณา หน่วยงานควรรายงานตัวชี้วัด Benefit-Cost Ratio หรือ Cost-Effectiveness ตามความมีอยู่ของข้อมูล
ตัวอย่างแบบฟอร์ม 3.4 (ต่อ) ผลกระทบ รายงานผล (ให้แสดงผลการประเมินตัวชี้วัดผลกระทบ/เป้าหมายการให้บริการกระทรวง และเปรียบเทียบกับปีที่ผ่านมา กรณีที่ไม่สามารถเปรียบเทียบได้ให้แสดงเหตุผล) การประเมินผลกระทบ การประเมินผลกระทบต่อเศรษฐกิจ การประเมินผลกระทบต่อสังคม การประเมินผลกระทบต่อการเมือง การประเมินผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม รายงานผลสำเร็จตามเป้าหมายการให้บริการ กระทรวงที่ผลผลิตนี้ส่งผลกระทบถึง (ซึ่งอาจส่งผลกระทบเพียงบางส่วนก็ได้ ตามการถ่ายทอดตัวชี้วัดจากกระทรวง) รวมทั้งผลกระทบจากการศึกษาทางวิชาการ และค่าใช้จ่ายที่คิดมูลค่าเป็นเงินไม่ได้ (จากข้อ 2.4 ในแบบฟอร์มที่ 3.3)