ระบบการเงินระหว่างประเทศ โดย ผ.ศ ศิวิไล ชยางกูร
ระบบการเงินระหว่างประเทศ วิวัฒนาการของระบบปริวรรตเงินตราต่างประเทศ ระบบการเงินระหว่างประเทศในโลกยุคใหม่เริ่มต้นจากการปฎิวัติอุตสาหกรรมประเทศอังกฤษ ระบบมาตรฐานทองคำ ( THE GOLD STANDARD ) ค.ศ 1876 – 1913 ช่วงระหว่างสงครามโลก ( THE INTER – WAR YEARS ) ค .ศ 1914 – 1944 ระบบปริวรรตเงินตราแบบคงที่ ( FIXED EXCHANGE RATE) ค .ศ 1945 – 1973 ข้อตกลงเบรตตันวูดด์ วิกฤตการณ์ปี คศ 1971 อัตราแลกเปลี่ยนแบบลอยตัว
ระบบอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ หลังปี ค.ศ. 1973 ข้อตกลงจาไมก้า ( JAMICA AGREEMENTค.ศ 1976 ข้อตกลงพลาซ่า( PLAZA AGREEMENT) ค.ศ 1985 ข้อตกลงลูฟร์ ( LOUVRE ACCORD ) ค.ศ1987
ระบบปริวรรตเงินตราที่พึ่งพาเงินสกุลต่างประเทศหรือสหภาพการเงิน ระบบปริวรรตเงินตราที่ควบคุมโดยคณะกรรมการ ระบบปริวรรตเงินตราผูกค่าเงินสกุลท้องถิ่นไว้กับเงินสกุลอื่น ระบบปริวรรตเงินตราผูกค่าเงินสกุลอื่นแบบยืดหยุ่น ระบบปริวรรตเงินตราที่เปลี่ยนแปลงแบบค่อยเป็นค่อยไป ระบบปริวรรตเงินตราลอยตัวแบบจัดการ ระบบปริวรรตเงินตราแบบเสรี
สหภาพเศรษฐกิจและการเงินยุโรป (ECONOMIC AND MONETARY UNION: EMU) ระบบการเงินยุโรป (EUROPEAN MONETARY SYSTEM: EMS) ธนาคารกลางแห่งยุโรป (EUROPEAN CENTRAL BANK: ECB) สกุลเงินยูโร
ระบบปริวรรตเงินตราต่างประเทศในประเทศไทย ก่อนประกาศค่าเสมอภาค ( พ ศ 2492 - 2506 ) ประกาศค่าเสมอภาค ( พศ 2506 – 2521) กำหนดอัตราแลกเปลี่ยนประจำวันร่วมกัน( พศ 2521 – 2524) ระบบอัตราแลกเปลี่ยนคงที่ ( พศ 2524 – 2527) ระบบตะกร้าเงิน( พศ 2527 – 2540) ระบบอัตราแลกเปลี่ยนแบบลอยตัว( พศ 2540 – ปัจจุบัน)
ทุนรักษาระดับอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา (EXCHANGE EQUALIZATION FUND) บทบาทหน้าที่ การบริหารงานของทุนรักษาระดับอัตราแลกเปลี่ยน ทุนดำเนินการของทุนรักษาระดับอัตราแลกเปลี่ยน