การตรวจอากาศด้วยเรดาร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
PAIBOONKIJ SUPPLY LIMITED PARTNERSHIP
Advertisements

เสียง ข้อสอบ o-Net.
พายุหมุนเขตร้อน TROPICAL STORMS.
บรรยากาศ.
บทที่ 2 เรื่อง ลมฟ้าอากาศ
การพยากรณ์อากาศ คือ การคาดหมายสภาวะของลมฟ้าอากาศ รวมทั้งปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่จะเกิดขึ้นในช่วงเวลาข้างหน้า.
ทางหลวงชนบทที่ประสบอุทกภัย
Global Warming.
Global warming สาเหตุของการเกิดภาวะโลกร้อน
แผ่นดินไหว.
6. อย่าได้ยึดถือโดยการคาดคะเน การ คาดการณ์ตามประวัติศาสตร์ ตาม สถิติ ความน่าจะเป็น ซึ่งอาจจะผิดก็ ได้ เพราะเห็นแค่ร้อย อย่าเหมาว่าที่ ร้อยเอ็ดจะเป็นไปด้วย.
ภาวะโลกร้อน(Global Warming)
คลื่นพายุซัดชายฝั่ง กลุ่มที่6.
Ultrasonic sensor.
การผลิตกระเเสไฟฟ้า จากกังหันลม.
SOLAR CHIMNEY (ปล่องลมแสงอาทิตย์)
(Global Positioning System)
ยินดีต้อนรับ ทุกท่านเข้าสู่.
จัดทำโดย นายอัมรินทร์ วงษ์พันธุ์ ภาควิชา การจัดการพลังงาน รหัส
สภาพท้องฟ้า หลักปฏิบัติในการตรวจอากาศ
เครื่องมือเทคโนโลยีทางภูมิศาสตร์
คุณครูโชคชัย บุตรครุธ
การละลายของธารน้ำแข็งและภาวะน้ำท่วม
Demonstration School University of Phayao
ความถี่ในการส่งสัญญาณดาวเทียม
ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ
Nursery ก็ลดโลกร้อนได้
สมบัติของคลื่น การสะท้อน
โครงการเครื่องวัดระดับ ความสูงคลื่น
ภาวะโลกร้อน ป้องกัน แก้ปัญหา ภาวะโลกร้อน ผลกระทบ ผู้จัดทำ สาเหตุ
รูปร่างเครือข่าย อาจารย์วันวิสาข์ บุญพ่วง วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2
เครื่องดูดฝุ่น.
ลิฟต์.
ไดร์เป่าผม.
ชุดรับสัญญาณจากดาวเทียม
ภาวะโลกร้อน (Global Warming)
คลื่น คลื่น(Wave) คลื่น คือ การถ่ายทอดพลังงานออกจากแหล่งกำหนดด้วยการ
ภาวะโลกร้อน (Global Warming)
Fiber Optic (เส้นใยแก้วนำแสง)
รายชื่อสมาชิกกลุ่ม ชมเชยที่ 4
สรุปเนื้อหาสาระ ภูมิศาสตร์
10.3 ชนิดของอุทกภัย (1.) แบ่งตามสาเหตุการเกิด
ซ่อมเสียง.
กล้องโทรทรรศน์.
แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์
การตรวจข่าวอากาศชั้นบนด้วยวิธี Pilot balloon
บทที่ 7 เรื่อง พลังงานลม
อุตุนิยมวิทยากับการแจ้งเตือนภัย
การตรวจอากาศ การตรวจอากาศ ผิวพื้น เครื่องตรวจความ กดอากาศ.
การหักเหของแสง (Refraction)
การพยากรณ์อากาศ โดย... นางธีราพรรณ อินต๊ะแสน เจ้าพนักงานอุตุนิยมวิทยาปฏิบัติงาน สถานีอุตุนิยมวิทยาอุทกทุ่งช้าง.
ชุมชนเข้มแข็ง ด้านการ เตรียมพร้อมป้องกันภัยธรรมชาติ
รูปแบบการเชื่อมโยงเครือข่าย
ชนิดของคลื่น ฟังก์ชันคลื่น ความเร็วของคลื่น กำลัง, ความเข้มของคลื่น
พายุ นางสาวศิริลักษณ์ กันสงค์ กลุ่ม 10 รหัส
เครื่องมืออุตุนิยมวิทยา
ส่วนพยากรณ์อากาศ ศูนย์อุตุนิยมวิทยาภาคเหนือ กรมอุตุนิยมวิทยา
ภัยธรรมชาติ ที่เกิดขึ้นในจังหวัดน่าน
ภาวะโลกร้อน กับการดำเนินชีวิต จัดทำโดย นายก้องเกียรติ์ ดีเลิศ.
จัดทำโดย นายธนิต เหลืองดี ความเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศโลกที่เกิดขึ้นใน ปัจจุบัน เป็นสิ่งที่คนในสังคมโลก ยังให้ความสนใจไม่มากนักและที่สำคัญ คือ ยังมีคนจำนวนมาก.
คาดหมายลักษณะ อากาศ ส่วนพยากรณ์อากาศ ศูนย์อุตุนิยมวิทยา ภาคเหนือ กรมอุตุนิยมวิทยา.
ภายใต้กรอบแนวคิดการพัฒนาระบบข้อมูลสนับสนุนการตัดสินใจ
ศูนย์อุตุนิยมวิทยาภาคเหนือ สถานีอุตุนิยมวิทยาตาก
คณะผู้จัดทำ 1. ด. ญ. สุกันยา มะลิวัลย์ 2. ด. ญ. พชรมน กองอรรถ 3. ด. ญ. สุรัสวดี ภู่รักษ์ เสนอ อาจารย์ พรทิพย์ ตองติดรัมย์ เครือข่ายระบบไร้สาย wirless LAN.
การตรวจอากาศชั้นบนด้วยเครื่องวิทยุหยั่งอากาศ Radiosonde
เครื่องจักรและกรรมวิธีการตัดโลหะแผ่นสมัยใหม่
บทที่ 7 การพยากรณ์ยอดขาย.
ในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ภาวะโลกร้อน กับการดำเนินชีวิต
ลักซ์มิเตอร์ (Luxmeter)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การตรวจอากาศด้วยเรดาร์ นางเบญจวรรณ กมลเลิศ พอต.ชง. ส่วนติดตามสภาวะอากาศ ศูนย์อุตุนิยมวิทยาภาคเหนือ

ความหมาย เรดาร์ตรวจอากาศ เป็นเครื่องมือทางอุตุนิยมวิทยาชนิดหนึ่งที่ใช้ตรวจ ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ อาทิ ลูกเห็บ หิมะ ฝน ฝนฟ้าคะนอง พายุฝนฟ้า คะนอง นอกจากนั้นเรดาร์ตรวจอากาศยังสามารถตรวจและวิเคราะห์ ศูนย์กลางพายุหมุนเขตร้อนได้ตั้งแต่ พายุโซนร้อนจนถึงพายุไต้ฝุ่นเมื่อพายุ นั้นเคลื่อนเข้ามาในรัศมีหวังผล ( 230 กม.)

หลักการทำงานของเรดาร์ . เรดาร์จะส่งคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าออกมาในรูป PULSE มี ช่วงสั้นโดยออกจากเครื่องส่งไปยังจานสายอากาศเมื่อ กระทบเป้าจะเกิดการสะท้อนกลับมายังจานสายอากาศ เข้าสู่ภาคเครื่องรับ

ส่วนประกอบ 1. จานสายอากาศ (Antenna) 2. สวิตซ์เครื่องรับ-ส่ง (Transmit receive switch) 3. เครื่องส่ง (Transmitter) 4. เครื่องรับ (Receiver) 5. หน่วยประเมินผล (Processor) 6. จอแสดงภาพ (Display)

ผังการทำงาน

เรดาร์ตรวจอากาศ X - Band ความถี่ 6,200-109,000 MHz ความยาวคลื่น 4.84-2.75 cm. เหมาะในการตรวจวัดฝนกำลังอ่อน ถึง กำลังปานกลาง สามารถตรวจวัดฝนกำลังปานกลาง ถึง หนัก ได้ มีการสูญเสียพลังงานเมื่อคลื่นเรดาร์กระทบเป้า เป้าของฝนที่ตรวจได้จากจอเรดาร์ มีขนาดและรูปร่างผิดจากความเป็นจริง รัศมีทำการ 100 กิโลเมตร และมีรัศมีหวังผล 60 กิโลเมตร ราคาค่อนข้างถูก และค่าบำรุงรักษาน้อย

เรดาร์ตรวจอากาศ C – Band มีความถี่ 3,900 - 6,200 MHz ความยาวคลื่น 7.69 - 4.84 cm. ขนาดกลางเหมาะในการตรวจวัดฝนกำลังปานกลาง – หนัก มีการสูญเสียพลังงาน มีรัศมีทำการ 450 กิโลเมตร และมีรัศมีหวังผล 230 กิโลเมตร ราคาสูงกว่าเรดาร์แบบ X-Band ค่าบำรุงรักษามากกว่าเรดาร์แบบ X-Band

เรดาร์ตรวจอากาศ S – Band -มีความถี่ 1,550 - 3,900 MHz ความยาวคลื่น 19.3 - 7.69 cm. ขนาดใหญ่เหมาะในการตรวจวัดฝนกำลังหนัก ถึง หนักมาก สามารถตรวจวัดผลกำลังอ่อน ถึง ปานกลางได้ด้วย การสูญเสียพลังงานน้อย รูปร่างผิดจากความเป็นจริงไปบ้างเล็กน้อย รัศมีทำการ 550 กิโลเมตร และมีรัศมีหวังผล 230 กิโลเมตร ราคาและค่าบำรุงรักษาแพงกว่า แบบ X-Band และ C - Band

ภาพแสดงลักษณะ CELL ของกลุ่มฝน

CMM (combine Movement Map)

ประโยชน์ของเรดาร์ตรวจอากาศ 1. ใช้ตรวจจับหาบริเวณที่มีฝนหรือฝนฟ้าคะนอง รวมทั้งรายงานความแรงทิศทางและ ความเร็วในการเคลื่อนตัวของกลุ่มฝนนั้นๆด้วย 2. ใช้ตรวจและติดตามการเคลื่อนตัว รวมทั้งหาศูนย์กลางของพายุหมุน เช่น พายุโซน ร้อน พายุไต้ฝุ่น เป็นต้น 3. ใช้ตรวจหิมะ ลูกเห็บ เมฆ 4. ช่วยในการพยากรณ์อากาศระยะสั้น 5. ใช้วิเคราะห์ทิศทางและความเร็วลมชั้นบนในระดับต่างๆ 6. ช่วยในการเตือนภัยและเตรียมการป้องกันน้ำท่วม

สวัสดีคะ