การวิเคราะห์กลั่นกรองหนังสือราชการ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
จดหมายกิจธุระ.
Advertisements

เรื่อง การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การเขียนบทความ.
: วัตถุประสงค์การวิจัย : การนิยามศัพท์
ระเบียบสารบรรณ สำเนาคู่ฉบับ สำเนา ชั้นความเร็ว ด่วน ด่วนมาก ด่วนที่สุด
ประสบการณ์การเขียนหนังสือ-ตำรา
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
for Beginning & Publishing
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
เทคนิคการอ่านรายงานการวิจัย
รายละเอียดของการทำ Logbook
โดย ดร.วรินทร์ สุวรรณวิสูตร อาจารย์ผู้ประสานงานวิชาโครงการ
รศ. ดร. สมศักดิ์ คงเที่ยง
รายงานการวิจัย.
การบันทึกทางธุรกิจ memorandom
เทคนิคการเขียน หนังสือราชการ
การเขียนผังงาน.
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
รายละเอียดของการทำ Logbook
Thesis รุ่น 1.
ใบส่งพิมพ์โปสเตอร์ขนาดใหญ่
ใบส่งพิมพ์โปสเตอร์ขนาดใหญ่
การเขียนรายงานการวิจัย
แผนผัง FlowChart Flow Chart คือ ขั้นตอนที่นำผลที่ได้จากการกำหนดและการ วิเคราะห์ปัญหามาเขียนเป็นแผนภาพหรือสัญลักษณ์ ประโยชน์ของผังงาน -ช่วยลำดับขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม.
โครงสร้าง ภาษา HTML.
แนวการเขียนยุววิจัยประวัติศาสตร์ท้องถิ่นภาคเหนือ เชียงใหม่ ลำพูน
การเขียนขยายเค้าโครงเอกสารแต่ละบท ให้มีเนื้อหาสมบูรณ์
รูปแบบของเว็บเพจ. รูปแบบของเว็บเพจ รูปแบบของเว็บเพจ 1. เว็บเพจในแนวตั้ง.
Poster Presentation โดย สำหรับ การประชุม สคร.5 รศ.นพ.สมพนธ์ ทัศนิยม
โครงสร้าง HTML โครงสร้างพื้นฐาน HTML คำสั่งขึ้นบรรทัดใหม่ <BR>
วิธีการใช้งาน Google ค้นหาข้อมูล แบบติดจรวด
โปรแกรม MS Powerpoint และเทคนิคการนำเสนอ
รูปแบบและการพิมพ์หนังสือราชการภาษาไทย
: หัวข้อและความสำคัญของปัญหา
: หัวข้อและประเด็นปัญหา
การจำแนกบรรทัดข้อความ
บทนิพนธ์ 1. รายงาน (Report) 2. ภาคนิพนธ์ (Term Paper)
ธุรกิจ จดหมาย.
การเขียนรายงานการวิจัย (เชิงปริมาณ)
บทที่ 8 การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนรายงานการวิจัย
1 การอ่านตำรา การอ่านตำรา.
การเขียนบทคัดย่อ และ Abstract
การวิเคราะห์เนื้อหา.
ศ.ดร.สุมาลี สังข์ศรี มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
หน่วยที่ 1 ความหมายและความสำคัญของเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยตามแนวทางการทดสอบระดับนานาชาติ (PISA)
ขั้นตอนและหลักการวิเคราะห์
การเขียนแบบเสนอหัวข้อโครงงาน
E-Sarabun.
รายงานการศึกษาค้นคว้า
จัดทำโดย 1. นาย ยุทธพิชัย ตินรัตน์ ม.5/6 เลขที่ 4 2. นาย สิรภพ พิกุลทอง ม.5/6 เลขที่ นาย พีระทัด นาคดิลก ม.5/6 เลขที่ นาย ภานุวัฒน์ เพ็งผอม.
การอ้างอิงผลงานของผู้อื่น รศ. ดร. ยุพิน เตชะมณี
การเขียนซูโดโค้ด และการเขียนโฟลชาร์ต
รหัสวิชา บทที่ 4 การจัดรูปแบบเอกสาร.
แนวคิดและศิลปะในการร่างหนังสือราชการ
การเขียนเชิงกิจธุระ.
การอ่านเชิงวิเคราะห์
ธวัชชัย เอี่ยมไพโรจน์
สารานุกรมการศึกษา (The Encyclopedia of Education) ให้ความหมายไว้ว่า คือ “การจัดการสืบค้นอย่างมีระบบเกี่ยวกับการศึกษาและผลผลิตที่ได้รับจากการศึกษา”
การประเมินพัฒนาการทางภาษาตามแนวสมดุลภาษา
การเขียนบทวิทยุกระจายเสียง. ขั้นตอนการเขียนบทรายการวิทยุ ขั้นเริ่มต้นแนวคิด (Begin with idea) จะเป็น การบอกแนวทาง ขอบเขตและการวาง แผนการผลิตในอนาคต.
CS499 (1/2554) The Process of Pre-CS499.
บทที่ สร้างงานเอกสารและการแก้ไข
การเขียนรายงาน.
นางวันเพ็ญ วิวัฒนเจริญ
การสืบค้นสารสนเทศ สื่อบุคคล - แบบสอบถาม - การสัมภาษณ์
บทที่ 5 การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
16. การเขียนรายงานการวิจัย
การวิเคราะห์กลั่นกรองหนังสือราชการ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การวิเคราะห์กลั่นกรองหนังสือราชการ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช รศ.นภาลัย สุวรรณธาดา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 1

การร่างและการตรวจแก้ร่างหนังสือ หลักการร่างหนังสือ 1. จัดลำดับความคิด 2. เรียบเรียงประเด็นแต่ละย่อหน้า 3. เรียบเรียงประโยค 4. ตรวจทานและแก้ไข

คุณสมบัติของผู้ตรวจร่างหนังสือ(1) - งานสารบรรณ มีความรู้ - หนังสือราชการ - เนื้อหาที่เกี่ยวข้อง - ภาษา

คุณสมบัติของผู้ตรวจร่างหนังสือ(2) 1. มีความคิดวิจารณญาณ 2. มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 3. มีความคิดรอบคอบและรับผิดชอบ 3. มีเหตุผลที่อธิบายได้ 4. มีความเห็นอกเห็นใจ

วิธีตรวจแก้หนังสือ ตรวจรูปแบบ ตรวจเนื้อหา ตรวจภาษา

เครื่องหมายในการตรวจร่าง เอาออก ตกข้อความ ติดกัน สลับที่คำ ? สงสัยข้อความ วรรคเล็ก วรรคใหญ่ ย้ายคำลงไป ย้ายคำขึ้น ย่อหน้า

การวิเคราะห์รูปแบบ ขนาดของตรา หนังสือภายนอก - ภายใน การเว้นหน้ากระดาษซ้าย - ขวา / บน - ล่าง การเว้นบรรทัด

การวิเคราะห์รูปแบบ(ต่อ) 4. การใช้ฟอนต์ 5. วันที่ / ขอแสดงความนับถือ 6. การย่อหน้า 7. การเขียนโทรศัพท์ / โทรสาร

การวิเคราะห์เนื้อหา 1. ชื่อหน่วยงาน กับตำแหน่งผู้ลงนาม 1. ชื่อหน่วยงาน กับตำแหน่งผู้ลงนาม 2. การเรียงลำดับชื่อหน่วยงาน 3. การออกเลขที่ / ลำดับหนังสือออก 4. การจัดลำดับ และการเชื่อมโยงเนื้อหา

การวิเคราะห์เนื้อหา(ต่อ) 5. ความถูกต้องและครบถ้วนของข้อมูล 6. ความสมเหตุสมผลของเรื่องราว 7. สิ่งที่ส่งมาด้วย / เอกสารแนบ 8. ความยาวของแต่ละย่อหน้า

การวิเคราะห์ภาษา 1. การเขียนชื่อ / ที่อยู่ของหน่วยงาน 1. การเขียนชื่อ / ที่อยู่ของหน่วยงาน 2. การเขียนชื่อเรื่อง กระชับ เข้าใจง่าย 3. การใช้เลขไทย และเครื่องหมายต่าง ๆ 4. การเว้นวรรค วรรคเล็ก วรรคใหญ่

การวิเคราะห์ภาษา(ต่อ) 5. การตัดคำระหว่างบรรทัด 6. การใช้คำเชื่อม 7. การใช้ไปยาลน้อย 8. การใช้คำต่าง ๆ เช่น จัก ใคร่ ในการนี้

การวิเคราะห์ภาษา(ต่อ) 9. การเรียบเรียงประโยค 10. การเรียบเรียงย่อหน้า 11. การใช้ภาษาราชการ 12. การสะกดการันต์

การวิเคราะห์ภาษา(ต่อ) 13. การใช้ศัพท์เทคนิค 14. การใช้ศัพท์ภาษาไทย - ต่างประเทศ 15. การใช้คำย่อ คำตัด คำแทน