การวิเคราะห์กลั่นกรองหนังสือราชการ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช รศ.นภาลัย สุวรรณธาดา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 1
การร่างและการตรวจแก้ร่างหนังสือ หลักการร่างหนังสือ 1. จัดลำดับความคิด 2. เรียบเรียงประเด็นแต่ละย่อหน้า 3. เรียบเรียงประโยค 4. ตรวจทานและแก้ไข
คุณสมบัติของผู้ตรวจร่างหนังสือ(1) - งานสารบรรณ มีความรู้ - หนังสือราชการ - เนื้อหาที่เกี่ยวข้อง - ภาษา
คุณสมบัติของผู้ตรวจร่างหนังสือ(2) 1. มีความคิดวิจารณญาณ 2. มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 3. มีความคิดรอบคอบและรับผิดชอบ 3. มีเหตุผลที่อธิบายได้ 4. มีความเห็นอกเห็นใจ
วิธีตรวจแก้หนังสือ ตรวจรูปแบบ ตรวจเนื้อหา ตรวจภาษา
เครื่องหมายในการตรวจร่าง เอาออก ตกข้อความ ติดกัน สลับที่คำ ? สงสัยข้อความ วรรคเล็ก วรรคใหญ่ ย้ายคำลงไป ย้ายคำขึ้น ย่อหน้า
การวิเคราะห์รูปแบบ ขนาดของตรา หนังสือภายนอก - ภายใน การเว้นหน้ากระดาษซ้าย - ขวา / บน - ล่าง การเว้นบรรทัด
การวิเคราะห์รูปแบบ(ต่อ) 4. การใช้ฟอนต์ 5. วันที่ / ขอแสดงความนับถือ 6. การย่อหน้า 7. การเขียนโทรศัพท์ / โทรสาร
การวิเคราะห์เนื้อหา 1. ชื่อหน่วยงาน กับตำแหน่งผู้ลงนาม 1. ชื่อหน่วยงาน กับตำแหน่งผู้ลงนาม 2. การเรียงลำดับชื่อหน่วยงาน 3. การออกเลขที่ / ลำดับหนังสือออก 4. การจัดลำดับ และการเชื่อมโยงเนื้อหา
การวิเคราะห์เนื้อหา(ต่อ) 5. ความถูกต้องและครบถ้วนของข้อมูล 6. ความสมเหตุสมผลของเรื่องราว 7. สิ่งที่ส่งมาด้วย / เอกสารแนบ 8. ความยาวของแต่ละย่อหน้า
การวิเคราะห์ภาษา 1. การเขียนชื่อ / ที่อยู่ของหน่วยงาน 1. การเขียนชื่อ / ที่อยู่ของหน่วยงาน 2. การเขียนชื่อเรื่อง กระชับ เข้าใจง่าย 3. การใช้เลขไทย และเครื่องหมายต่าง ๆ 4. การเว้นวรรค วรรคเล็ก วรรคใหญ่
การวิเคราะห์ภาษา(ต่อ) 5. การตัดคำระหว่างบรรทัด 6. การใช้คำเชื่อม 7. การใช้ไปยาลน้อย 8. การใช้คำต่าง ๆ เช่น จัก ใคร่ ในการนี้
การวิเคราะห์ภาษา(ต่อ) 9. การเรียบเรียงประโยค 10. การเรียบเรียงย่อหน้า 11. การใช้ภาษาราชการ 12. การสะกดการันต์
การวิเคราะห์ภาษา(ต่อ) 13. การใช้ศัพท์เทคนิค 14. การใช้ศัพท์ภาษาไทย - ต่างประเทศ 15. การใช้คำย่อ คำตัด คำแทน