หัวหน้าส่วนพัสดุ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย พัชรี ยันตรีสิงห์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพป.นครปฐม เขต 2
Advertisements

พุทธธรรม นำบุคลิกภาพ อ.วิยะดา วรธนานันท์ สำนักการศึกษาต่อเนื่อง
บทบาทและหน้าที่ของนักคอมพิวเตอร์
เคล็ดลับแห่งความสำเร็จ
การมอบหมายงาน 1. งานเร่งด่วน/สำคัญมาก หัวหน้าต้องทำเอง
ปัญหาในการสั่งงาน 1. ตัวเราเอง/หัวหน้าไม่กล้า, เกรงใจ, กลัว ต้องเชื่อมั่นตนเอง 2. ไม่รู้ขั้นตอนสั่งงานที่ดี จับประเด็นไม่ได้
การบริหารจัดการเพื่อ พัฒนาผลการปฏิบัติงาน
อาจารย์อนุวัตร ธรรมปริพัตรา
บริหารคนอย่างไรให้มีประสิทธิภาพ
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
EQ หลักสูตร การบริหารอารมณ์ สู่การทำงานอย่างมืออาชีพ
หลักการพัฒนา หลักสูตร
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
กระทำหน้าที่ตามเป้าหมายขององค์กรอย่างสมบูรณ์
มีหน้าที่เชื่อมโยงผู้คน/หน่วยงานเข้าหากัน
ความหมาย ประโยชน์ ลักษณะของทีม
การสื่อสารเพื่อการบริการ
กิจกรรมการสรุปบทเรียนตามภารกิจหลัก และ แผนการดำเนินการจัดการความรู้ ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 23 สิงหาคม 2556 เวลา 9.30 – น.
6. การควบคุมให้ปฎิบัติตามกฎ ระเบียบ และ. มาตรฐานความ ประพฤติ การควบคุมให้ปฎิบัติตามกฎ ระเบียบ และ มาตรฐานความ ประพฤติ 7. การทำความเข้าใจซึ่งกันและกัน.
การบริหารความพึงพอใจของทีมงาน
การพัฒนาบุคลิกภาพภายใน
เพื่อสร้างมนุษยสัมพันธ์
การจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM)
การรับมือ และ การสร้างความพึงพอใจ ให้แก่ผู้รับบริการ
การทำงานอย่างมีความสุข
มนุษย์สัมพันธ์ ในการทำงานเป็นทีม
สุขภาพจิต และการปรับตัว
บทที่ 3 แรงจูงใจในการทำงาน.
มนุษยสัมพันธ์ในการทำงาน
วัฒนธรรมองค์กร & การอยู่ร่วมกัน
การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม ค่านิยมในการทำงานราชการยุคใหม่
โดย... อาจารย์อ้อ สุธาสินี
ของฝากจากอาจารย์อ้อ ชุดที่ 34
บทที่ 12 การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาองค์การ.
ทักษะการใช้กิริยาท่าทาง และบุคลิกการเป็นครู
ลูกใครวะ.
การเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ และผู้นำทางวิชาการ
ความต้องการของวัยรุ่น และ การให้คำปรึกษาวัยรุ่นที่มีพฤติกรรมเสี่ยง
Communities of Practice (CoP)
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
การวิเคราะห์ Competency
การพัฒนาตนเองในด้านความคิดสร้างสรรค์
การบริการ คืออะไร ? คือ การสื่อสารอย่างครบวงจร สื่อจาก ท่าทาง
พลังพ่อแม่...พลังครอบครัว
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
Participation : Road to Success
องค์ประกอบของการสร้างวิสัยทัศน์ร่วมกัน
การเรียนรู้ของทีม Team Learning
วิชาวิศวกรรมความรู้ - การจัดการความรู้เพื่อพัฒนาองค์กร
การส่งเสริมพัฒนาการทางสังคมสำหรับเด็กปฐมวัย
DISC เครื่องมือช่วยบริหารทีม.
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
ครูพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี การบริหารจัดการ ทรัพยากรการบริการ การบริหารจัดการ ทรัพยากรการบริการ ผู้สอน นางพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี โรงเรียนวังไกลกังวล ผู้สอน นางพัทธนันท์
การจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน รายวิชาการจัดทำโครงงานด้วยกล่องสมองกล ช่วงชั้นที่ 4 ความหมาย กิจกรรมโครงงาน เป็นกิจกรรมที่เน้นกระบวนการโดยนักเรียนเป็นผู้คิดค้น.
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
ผู้อำนวยกลุ่มการเรียนรู้ (Learning Facilitator)
ทักษะการใช้กิริยาท่าทางและบุคลิกการเป็นครู
บทที่ 2 พุทธธรรมกับสังคม.
การสื่อสารด้วยใจคลายวิกฤต
นางสาวนิตย์ติญา ดวงใจ พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
มนุษยสัมพันธ์ในการบริหารการศึกษา
สัมมนาทางการประกอบการธุรกิจ
พุทธปรัชญา ความเป็นมา พุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำชาติ
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
จิตวิทยาการปรึกษาเบื้องต้น
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
เทคนิควิธีในการจัดการเรียนการสอน
เรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หัวหน้าส่วนพัสดุ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ เล่าประสบการณ์ การเป็นหัวหน้างาน โดย จินตนา ศิริวัฒนโชค หัวหน้าส่วนพัสดุ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

แบ่งหัวข้อแลกเปลี่ยน แนวทาง แนวคิดที่มีผู้รวบรวมไว้แล้ว (Explicit Knowledge) 2. เล่าประสบการณ์ 3. ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้

ระดับการพัฒนาหัวหน้างาน ระดับพื้นฐาน (Functional level) 2. ระดับทักษะ (Cross Functional level) 3. ระดับการบริหาร (Management level) 4. ระบบองค์กร (Organizing level)

การรู้เทคนิคหัวหน้างาน ระดับพื้นฐาน (Functional level) การรู้เทคนิคหัวหน้างาน การสอนงานอย่างมีประสิทธิภาพ

ทักษะการบริหาร (Management skill) 2. ระดับทักษะ (Cross Functional level) ทักษะการบริหาร (Management skill) PDCA ตามบทบาทหน้าที่ของหัวหน้างาน

3. ระดับการบริหาร (Management level) การบริหารคนตามผลงานและความสามารถ เรียนรู้และเข้าใจ “การพัฒนาทุนมนุษย์” กำหนดสมรรถนะ (Competency)

การจัดการความรู้ KM ภาคปฏิบัติ 4. ระบบองค์กร (Organizing level) การจัดการความรู้ KM ภาคปฏิบัติ สามารถกำหนดกระบวนการและบริหารจัดการระบบ KM ให้เกิดประโยชน์

เทคนิคการเป็นหัวหน้า ที่ลูกน้องรัก/ที่ลูกน้องอยากได้ เปิดใจรู้จักตนเอง รับฟังความคิดเห็นลูกน้อง เคารพความคิดเห็นผู้อื่น เป็นปากเป็นเสียงได้ ปกป้องลูกน้องในทางที่ควร ถ่ายทอดข้อมูลได้ (สถานีรับ-ส่งข้อมูล) จิตใจมั่นคง หนักแน่น - ในหลักการ = ทำงานเป็นระบบ - ไม่หูเบา 6. รู้จักวางตัว รักษาระยะได้อย่างเหมาะสม 7. สามารถตอบสนองความคาดหวังของลูกน้องได้

เทคนิคการเป็นหัวหน้า ที่ลูกน้องรัก/ที่ลูกน้องอยากได้ 8. พร้อมรับผิดชอบ 9. อดทน, ทำงานหนัก 10. สามารถตัดสินใจได้ 11. ใจกว้าง มีน้ำใจ 12. เท้าติดดิน 13. รักษาอารมณ์ได้สม่ำเสมอ (ฉลาดทางอารมณ์) 14. พูดอย่างสร้างสรรค์

Sambre Valley Franière, Belgium เทคนิคการเป็นหัวหน้า ที่ลูกน้องรัก/ที่ลูกน้องอยากได้ Sambre Valley Franière, Belgium 15. ใจเป็นธรรม 16. ชมต่อหน้า ...ว่าเป็นการส่วนตัว 17. วางเฉย บางเรื่องฟังแล้วปล่อยทิ้งบ้าง 18. สร้างบรรยากาศในการทำงาน 19. ใช้คนให้เหมาะกับงาน 20. ให้แนวคิด แล้วให้ไปปฏิบัติเอง 21. ดูแลตนเอง ให้สุขภาพดีทั้งกาย/ใจ ฯลฯ

การสร้างแรงจูงใจที่ไม่ใช้ตัวเงิน ทำให้ทุกคนรู้สึกว่าหน่วยงานมั่นคง มีสวัสดิการที่ดี มีโอกาสก้าวหน้า ให้รางวัล เป็นระบบ เป็นธรรม คุ้มค่า สร้างบรรยากาศที่ดี – นายดี ทำงานแล้วสบายใจ - เมื่อพลาดแล้วให้กำลังใจ - เจอหน้าทักทาย - ฉลาดชม

การสร้างแรงจูงใจที่ไม่ใช้ตัวเงิน 6. ให้ทำงานที่เหมาะสมกับความสามารถ 7. มีอำนาจ / หน้าที่แน่นอน 8. เปิดโอกาสให้แสดงความคิดเห็น 9. มีช่วงเวลาทำงานที่เหมาะสม

คุณสมบัติของหัวหน้างาน การเป็นผู้รู้จักตนเอง (Self realization) การเป็นผู้รู้จักวิเคราะห์หาเหตุและผล (Analytical Mind) การเป็นผู้เรียนรู้ตลอดเวลา (Life Long Learning) มีความเข้าใจในจิตวิทยาการบริหาร การเป็นคนดี

เล่าจากประสบการณ์

คาถาของหัวหน้างาน

พรมวิหาร 4 เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา

ออกหน้ารับ น่านับถือ เชื่อถือได้ ไม่อคติ

มองการณ์ไกล ไว ต่อความรู้สึก นึกถึง เหตุผล สื่อสาร กับคน ให้ตรงเป้าหมาย

ยิ้มแย้มแจ่มใส ตั้งใจสนทนา วาจาไพเราะ สงเคราะห์เอื้อเฟื้อ เจือจุนน้ำใจ ไม่ใช้คำว่า “คุณผิด” ตรองคิดก่อนทำ ถามย้ำ “ชื่อของเขา” บรรเทาการโต้แย้ง แสดงความเสียใจ สอดใส่บรรยากาศ ฉลาดเจรจา เลือกหาที่เป็นประโยชน์ต่อเขา เน้นพวกเรามากกว่าพวกคุณ เกื้อหนุน เสนอสนอง ในครรลองกัลยาณมิตร

บัญญัติ 10 ประการเรื่องงาน ที่ควรทำ ลำดับความสำคัญของงาน รู้จักกระจายงาน อยู่บนพื้นฐานของความจริง ระบุปัญหาได้ ใช้เทคโนโลยีมาช่วย ตั้งสมมุติฐาน ของสาเหตุที่ทำให้เกิดปัญหา เพื่อแก้ไขให้ตรงจุด

บัญญัติ 10 ประการเรื่องงาน ที่ควรทำ มุ่งแก้ปัญหา ไม่ตำหนิหาคนผิด จัดการแก้ปัญหาที่สาเหตุ เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดปัญหาซ้ำ ทฤษฏีเกิดจากประสบการณ์ บางปัญหาต้องทดลองหลายครั้ง ขจัดการพูดที่ไร้การกระทำ บริหารเป้าหมาย อย่าลืมการวัดผลการปฏิบัติด้วย

บัญญัติ 10 ประการเรื่องงาน ไม่ควรทำ คิดว่าเป็นผู้บริหาร “สั่งการ” (ที่ถูกต้อง “ชี้แนะ + ช่วยเหลือ”) บริหารสิ่งที่มองไม่เห็น (ฟังเรื่องราวและนำมาทำ) มุ่งแต่ตรวจสอบ เน้นการฟังรายงานและการประชุมมากเกินไป ไม่ได้สัมผัสเรื่องจริง คิดว่า วางแผน – ลงมือทำ – ตรวจสอบและปรับปรุงพอแล้ว ...แต่จริงๆ ต้องตรวจสอบหลังวางแผนก่อนลงมือทำ มีอีก 1 ขั้นตอน

บัญญัติ 10 ประการเรื่องงาน ไม่ควรทำ คิดว่าเป็นผู้บริหารแล้วไม่มีหน้าที่ปรับปรุงงาน ตัดสินใจหรือวัดค่าจากผลงานเท่านั้น ไม่สนใจกระบวนการ มองไม่เห็นความสูญเสีย (เห็นเล็กน้อย) ไม่วิจารณ์ผลงานที่ดี ชอบคิดว่าผลงานดีที่สุดแล้ว จึงไม่ปรับปรุง ชอบการประนีประนอม เกรงใจ ไม่กล้าตัดสินใจ