นางสรัญญา โพธิ์เอี่ยม โรงเรียนวัดตะคร้ำเอน สพป.กจ.2

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สื่อความรู้เพื่อการศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
Advertisements

สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
สนุกกับชนิดของคำไทย ไปกับ อ. พัชรินทร์ พึ่งเนตร
ชนิดของคำในภาษาไทย คำในภาษาไทย มี ๗ ชนิด ได้แก่ คำนาม คำสรรพนาม
กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ ตา
๑. เร่งปฏิรูปการเรียนรู้ทั้งระบบให้สัมพันธ์เชื่อมโยงกัน
ความรู้เรื่องการจับกุม ตาม ป.วิ อาญา
การพัฒนานโยบายความมั่นคงแห่งชาติ ของกระทรวงวัฒนธรรม
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้ สวัสดี ผมชื่อเฟยเฟย 你好!我是飞飞。
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย เรื่อง พยางค์และคำ
ประโยคความซ้อน หรือ สังกรประโยค
คำกริยา.
คำวิเศษณ์.
การอ่านเพื่อแยกข้อเท็จจริง
ระบบสืบค้นหนังสือห้องสมุดคลังความรู้
คำวิเศษณ์.
คำนาม.
วิถีคุณธรรมนำความรู้
นางสาวสมาพร เอี่ยมจรูญ
รายละเอียดของรายวิชา
การรายงานและการประเมิน ด้านที่ ๓
ประโยคความเดียว ประโยคความเดียว คือ ประโยคที่มีใจความเพียงใจความเดียวหรือประโยคที่มีประธานและมีกริยาตัวเดียว.
การนำนโยบายและแนวปฏิบัติ การรับนักเรียนสู่การปฏิบัติ
การจัดการ งานสารบรรณแนวใหม่
การใช้ภาษาและเทคโนโลยีสำหรับครู
ชนิดของคำในภาษาไทย วิชา ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
โครงงาน คุณสมบัติที่ดีของเด็กหนองไทร
ยกระดับคุณภาพครูให้เป็น
โรงเรียนบ้านละหาร เสนอ
ขั้นตอนและหลักการวิเคราะห์
จัดทำโดย. ๑. ด. ช. ภวัต ผจงเกียรติคุณ ชั้นป. ๕/๘. เลขที่ ๒๑. ๒. ด. ช
วิชาคอมพิวเตอร์ ง โครงงาน เรื่อง สนุกกับคำ เสนอ
คำบุพบท เป็นคำที่เขียนนำหน้าคำนาม คำสรรพนาม คำกริยา คำวิเศษณ์
ความรู้เกี่ยวกับตัวเรา
ครั้งที่ ๒.
แบบฝึกเพื่อพัฒนาทักษะการคิดเลขเร็ว เรื่อง ทบทวนการคูณ และการหาร
เรื่อง การเขียนคำจากคำอ่าน
ผู้บริหารพบ นักเรียน. การเตรียมตัวในการ สอบ O-NET.
ผู้บริหารพบ นักเรียน. การทำความสะอาด บริเวณต่างๆ ภายใน โรงเรียน.
คำสรรพนาม จัดทำโดย ด.ช.ธนวัฒน์ เตชะนิรัติศัย เลขที่ 30
๙. เปรียบเทียบข้อมูลที่สรุป (ก.๗-๐๐๓ หน้า ๘)
การฟังเพลง.
แนวคิดและศิลปะในการร่างหนังสือราชการ
ผู้บริหารพบ นักเรียน. การปฏิบัติตัวสำหรับ นักเรียน เพื่อเตรียมการ ประกันคุณภาพภายใน สถานศึกษา ประจำปี การศึกษา ๒๕๕๖.
คำสันธาน ชนิดของคำ ครูศรีเรือน ยิ้มศรีเจริญกิจ
บันทึกสัมภาษณ์นักเรียน มัธยมศึกษาต้น สัมภาษณ์โดย พระปิยะณัฐ คุณวโร คณะครุศาสตร์ ชั้นปีที่ ๔ วิชาเอกการสอน ภาษาอังกฤษ สัมภาษณ์โดย พระปิยะณัฐ คุณวโร คณะครุศาสตร์
การพัฒนาบทเรียน e-Learning เรื่อง การสร้าง weblog สำหรับนักเรียน
คุณค่าวรรณคดีด้านวรรณศิลป์
คุณค่าวรรณคดีด้านวรรณศิลป์
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสมุทรปราการ เขต ๑
การขับเคลื่อนนโยบายสู่การปฏิบัติ ของ
บทบาทและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์ จัดทำโดย ๑
สนุกกับชนิดของคำ สนุกกับชนิดของคำ สันธาน
ประโยคที่มีความซับซ้อนยิ่งขึ้น
หน่วยที่ ๑๑ การศึกษาวรรณกรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น
ประโยคในการสื่อสาร จัดทำโดย ด.ช. อนันต์ ผลทับทิม เลขที่ ๔๓
หน่วยที่ ๑๐ การเขียนบทร้อยกรองในงานอาชีพ
โดย เด็กชาย ธัญญวิชญ์ ผลึกมณฑล ป.5/8 เลขที่16
แผนการจัดการเรียนรู้
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
เรื่อง ประโยค.
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
ENL 3701 Unit 7 ปัญหาการอ่านในระยะเริ่ม เรียน. ลักษณะการอ่านเบื้องต้น หรือระยะเริ่มเรียน Beginning Reading (in English) Beginners in Reading – นักเรียนในชั้น.
คำถามที่ให้ช่วยกันหาคำตอบ
สื่อการเรียนรู้ เรื่องเครื่องหมายวรรคตอน
แบบฝึกเพื่อพัฒนาทักษะการคิดเลขเร็ว เรื่อง ทบทวนการคูณ และการหาร
แบบฝึกเพื่อพัฒนาทักษะการคิดเลขเร็ว เรื่อง ทบทวนการคูณ และการหาร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นางสรัญญา โพธิ์เอี่ยม โรงเรียนวัดตะคร้ำเอน สพป.กจ.2 สื่อการเรียนการสอน สาระภาษาไทย เรื่องประโยค โดย นางสรัญญา โพธิ์เอี่ยม ครู คศ.1 โรงเรียนวัดตะคร้ำเอน สพป.กจ.2

ประโยค คือ กลุ่มคำรวมกันแล้วได้ใจความ ประโยค คือ กลุ่มคำรวมกันแล้วได้ใจความ ประธาน ผู้แสดงอาการ ภาคแสดง ส่วนแสดงอาการ ประโยค ๒ ส่วน ประธาน กริยา

ประโยค ๓ ส่วน ประธาน กริยา กรรม

การจำแนกประโยคในภาษาไทย แบ่งออกเป็น 3 ประเภทคือ การจำแนกประโยคในภาษาไทย แบ่งออกเป็น 3 ประเภทคือ    1. ประโยคความเดียว (เอกัตถประโยค)        2. ประโยคความรวม (อเนกัตถประโยค) 3. ประโยคความซ้อน (สังกรประโยค)

ประโยคความเดียว คือ ประโยคที่มีข้อความหรือใจความเดียว ซึ่งเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า เอกรรถประโยค เป็นประโยคที่มีภาคประธานเพียงบทเดียว และมีภาคแสดงหรือกริยาสำคัญเพียงบทเดียว หากภาคประธานและภาคแสดงเพิ่มบทขยายเข้าไป ประโยคความเดียวนั้นก็จะเป็นประโยคความเดียวที่ซับซ้อนยิ่งขึ้น

ประโยคความเดียว ภาคประธาน ภาคแสดง ประธาน ขยายประธาน กริยา กรรม บทขยายกริยา บทขยายกรรม ๑. เด็กๆ คุย ๒. เด็กๆ ชั้นอนุบาล คุยเสียงดัง ๓. มาลีแต่งกลอน ๔. มาลีนักเรียนชั้น ม.๓ แต่งกลอนสุภาพเก่ง ๕. คนแก่ข้ามถนนไม่ได้ ๖. คนขยันทำงาน ต่างๆ เร็ว เด็กๆ เด็กๆ มาลี มาลี คน - ชั้นอนุบาล - นักเรียนชั้น ม.๓ แก่ ขยัน คุย คุย แต่ง ข้าม ทำ - - กลอน ถนน งาน - เสียงดัง เก่ง ไม่ได้ เร็ว สุภาพ ต่างๆ

ประโยคความรวม เป็นประโยคที่มีเนื้อความมากกว่าหนึ่ง กล่าวคือ มีประธานมากกว่าหนึ่ง หรือมีกริยามากกว่าหนึ่ง หรือทั้งประธาน และกริยามีมากกว่าหนึ่ง เช่น

พ่อและแม่ เป็นประธาน ๒ คน พ่อและแม่ไปทำงาน พ่อและแม่ เป็นประธาน ๒ คน

ที่ห้างสรรพสินค้า เป็นกริยา ๒ ลักษณะ พ่อไปทำงานแล้วแวะซื้อของ ที่ห้างสรรพสินค้า ไปทำงานและแวะซื้อของ เป็นกริยา ๒ ลักษณะ

พ่อและแม่ เป็นประธาน ๒ คน ไปทำงานและขายของ เป็นกริยา ๒ ลักษณะ พ่อไปทำงานแต่แม่ขายของ พ่อและแม่ เป็นประธาน ๒ คน ไปทำงานและขายของ เป็นกริยา ๒ ลักษณะ

โดยมีคำสันธานเชื่อม    แบ่งออกเป็น ๔ ชนิด  คือ                          ๓. ความเลือกเอาอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น  เธอจะฟังเพลงหรือจะอ่านหนังสือ             เกิดจาก  เธอจะฟังเพลง  เธอจะอ่านหนังสือ  โดยมีสันธาน หรือ เป็นตัวเชื่อม          ๔. ความเป็นเหตุเป็นผลกัน เช่น  เพราะเขาตั้งใจเรียนจึงสอบผ่าน            เกิดจาก  เขาตั้งใจเรียน  เขาสอบผ่าน  โดยใช้คำสันธาน  เพราะ..จึง  เป็นตัวเชื่อม           ประโยคความซ้อน  คือ  มุขยประโยค  ( เอกรรถประโยค + อนุประโยค )    เช่น  ตำรวจจับคนไม่ข้ามทางม้าลาย

ประโยคความรวมมีหลายลักษณะ คือ ประโยคความรวมมีหลายลักษณะ คือ ๑. ประโยคที่มีเนื้อหาคล้อยตามกัน จะมีคำสันธาน ที่ใช้เชื่อม เช่น และ ทั้ง...และ แล้วก็ แล้ว...ก็ แล้วจึง แล้วจึง พอ...ก็ เป็นต้น

ฉันและเธอเป็นเพื่อนกัน ทั้งเธอและฉันสอบได้เกรด ๔ ทั้งเธอและฉันสอบได้เกรด ๔ เขาดื่มนมแล้วก็ทานอาหาร เขาสอบเสร็จแล้วเขาจึงไปพักผ่อน พอแดดออกแม่ก็นำผ้ามาตาก พอแดดออก แม่ก็นำผ้ามาตาก

๒. ประโยคที่มีเนื้อความขัดแย้งกัน มี ๒. ประโยคที่มีเนื้อความขัดแย้งกัน มี คำสันธานที่ใช้เชื่อม เช่น แต่ แต่ทว่า กว่า...ก็ ถึง...ก็ ฝ่าย ส่วน เป็นต้น   เช่น  ฉันจะดูหนังแต่เธอจะฟังเพลง             เกิดจาก  ฉันจะดูหนัง   เธอจะฟังเพลง  โดยมีสันธาน  แต่  เป็นตัวเชื่อม

๓. ความเลือกเอาอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น  เธอจะฟังเพลงหรือจะอ่านหนังสือ             เกิดจาก  เธอจะฟังเพลง  เธอจะอ่านหนังสือ  โดยมีสันธาน หรือ เป็นตัวเชื่อม

ไม่ถือว่าเป็นประโยคความรวม แต่เป็นประโยคความเดียวดังนี้ หมายเหตุ กรณีที่มีกรรมมากกว่าหนึ่ง ไม่ถือว่าเป็นประโยคความรวม แต่เป็นประโยคความเดียวดังนี้ ผมชอบทานก๋วยเตี๋ยวหมู ข้าวมันไก่ และก๋วยจั๊บน้ำใส กระเป๋าใส่สมุด หนังสือ ดินสอ ไม้บรรทัดและยางลบ

ประโยคความซ้อน (สังกรประโยค) คือประโยคที่ประกอบด้วยประโยคหลัก      (มุขยประโยค) และประโยคย่อย (อนุประโยค) มารวมเป็นประโยคเดียวกัน โดยมี     ประพันธสรรพนาม (ผู้, ที่, ซึ่ง, อัน) ประพันธวิเศษณ์ หรือบุพบทเป็นบทเชื่อม

ตัวอย่างประโยคความซ้อนที่ประโยคย่อยทำหน้าที่แทนนาม              คนทำดีย่อมได้รับผลดี คน...ย่อมได้รับผลดี       :      ประโยคหลัก คนทำดี                  :      ประโยคย่อยทำหน้าที่เป็นบทประธาน ครูดุนักเรียนไม่ทำการบ้าน ครูดุนักเรียน                    :     ประโยคหลัก นักเรียนไม่ทำการบ้าน   :      ประโยคย่อยทำหน้าที่เป็นบทกรรม สุนัขเห่ามักเป็นสุนัขไม่กัด สุนัข...เป็นสุนัขไม่กัด     :      ประโยคหลัก สุนัขเห่า               :      ประโยคย่อยทำหน้าที่เป็นประธานของประโยค