คุณธรรมนักปกครอง กับค่านิยมหลักของคนไทย นายประดิษฐ์ ยมานันท์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย อาจารย์วารุณี ถีระแก้ว โรงเรียนวัดไร่ขิง จังหวัดนครปฐม
Advertisements

และจรรยาบรรณของวิชาชีพครู
(กำหนดขึ้นโดยสำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดิน)
นางกาญจนา แย้มลักษณะเลิศ
ลักษณะของครูที่ดี.
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล
พุทธธรรม นำบุคลิกภาพ อ.วิยะดา วรธนานันท์ สำนักการศึกษาต่อเนื่อง
คุณธรรม 10 ประการ.
บทบาทและหน้าที่ของนักคอมพิวเตอร์
ศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร.สมหวัง พิธิยานุวัฒน์
บุญ ๑๐ วิธี ๑ . ให้ทาน แบ่งปันผู้อื่นด้วยสิ่งของไม่ว่าจะให้ใครก็เป็นบุญสิ่งของที่เราแบ่งปันจะเป็นประโยชน์กับบุคคลหรือชุมชนโดยส่วนรวม.
พลเมืองเรื่องดีในวิถีชีวิตประชาธิปไตย
โรงเรียนนาคนาวาอุปถัมภ์ เขตสวนหลวง กรุงเทพมหานคร
เครื่อข่ายเชื่อมโยงการเรียนรู้
การพัฒนานโยบายความมั่นคงแห่งชาติ ของกระทรวงวัฒนธรรม
นโยบายการบริหารจัดการ สถาบันเอเชียตะวันออกศึกษา
เศรษฐกิจพอเพียง.
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
เรื่อง หน้าที่พลเมือง
บทที่ 6 ค่านิยมในสังคมไทย
พลเมืองดีตามประเพณี และวัฒนธรรมไทย
“คุณธรรม” และ “จริยธรรม”
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง
๐๑-คุณธรรมและจริยธรรม สำหรับผู้บริหาร
คุณธรรมสำหรับผู้ปกครอง 10 ประการ ดังนี้
โครงการค่ายเรียนรู้คุณธรรม นำชีวิตพอเพียง ปี 2550
บุคลิก 9 ประการ ที่ควรพัฒนา
วิธีการสหกรณ์ อุดมการณ์ หลักการ นายบรรทูรย์ ราชิวงค์
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดสิงห์บุรี
พระพุทธศาสนา ฝึกคนไม่ให้ประมาท.
จรรยาบรรณวิชาชีพ.
เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม
เศรษฐกิจพอเพียง ด.ญ.ฐิติพร เลาหสูต.
เศรษฐกิจพอเพียง ด.ญ.กิตติมา สุภโรจนีย์ ป.4/6
ด.ช.ณัฐนันท์ขาววิเศษ เลขที่1ป4/6
เด็กชายคณนาถ ศรีรัตนสุภานนท์
โดยเด็กชายทรงธรรม รูปสวยดี
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
คุณธรรม ***** สภาพคุณงามความดี
โครงการศึกษาอบรมและสัมมนา หลักสูตรปลัดอำเภอบรรจุใหม่
ทุกท่านด้วยความยินดียิ่ง
การเรียนรู้ ตามรอยพระยุคลบาท.
“การสร้างองค์กรต้นแบบ เศรษฐกิจพอเพียง โดยการส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนินการของหน่วยงานภาครัฐ” จัดโดย สำนักงาน ปปช. สรุปและนำเสนอโดย ภญ.ธีรารัตน์ สุวรรณาลัย.
แนวทางการขับเคลื่อน การสร้างความสมานฉันท์ในสังคมไทย
KM ประจำเดือนตุลาคม 2550 สวัสดีค่ะ...พบกับข้อมูลข่าวสาร KM ของกองการเจ้าหน้าที่ ได้ที่นี่กันเป็นประจำ นะคะ ... และสำหรับการต้อนรับปีงบประมาณใหม่ ปี 2551.
Ombudsman Talk.
ดร.สมโภชน์ นพคุณ รองเลขาธิการ ก.พ. สำนักงาน ก.พ.
ความคาดหวังของการส่งเสริมวินัยและจริยธรรมข้าราชการ กรมอนามัย
เกร็ดความรู้ที่เยาวชนไทยควรทราบ
“แนวทางการจัดตั้งชมรมเสริมสร้างวินัยประเทศไทยใสสะอาดเพื่อสร้างเครือข่าย การส่งเสริมคนดี มีวินัย น้อมเกล้าฯ ถวายในหลวง”
เพื่อความเป็นพลเมือง (Civic Education)
นโยบายสาธารณะกับการปฏิรูปการเมือง การปกครอง และการบริหาร
ตามแนวพระราชดำริในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
หมายเหตุ : หน้าแรกแล้วแต่ท่านจะออกแบบนะครับ
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
ต่อชุมชนและประเทศชาติ ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง หลวงในรักเรา เรารักในหลวง
สังคมไทยที่พึงประสงค์ เข้มแข็งและมีดุลยภาพ 3 ด้าน
ศาสนาพุทธ เรื่อง ฆราวาสธรรม ๔ จัดทำโดย
ฝ่ายปกครองกับการปกป้อง
จุดเน้นวิชาประวัติศาสตร์
บทที่ 2 ทฤษฏีจริยธรรม.
เศรษฐกิจพอเพียง โดย ด.ช.พีรดนย์ ศรีสอน.
จัดทำโดย ชื่อนายฤทธิ์รงค์ ลิ้มม่วงนิล ช่างยนต์ ปวช.1 เลขที่19
จัดทำโดย ด.ช. ดิเรกรัตน์ ด่านลัมจาก เลขที่3
จะสำเร็จได้ด้วย ความพอดีของตน
ผู้สอน นางพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี
“ชีวิตมีคุณค่า พึ่งพาเศรษฐกิจพอเพียง”
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
ใบสำเนางานนำเสนอ:

คุณธรรมนักปกครอง กับค่านิยมหลักของคนไทย นายประดิษฐ์ ยมานันท์ บรรยายโดย นายประดิษฐ์ ยมานันท์ รองอธิบดีกรมการปกครอง ฝ่ายความมั่นคง สนง. รองอธิบดีกรมการปกครอง ฝ่ายความมั่นคง

คุณธรรมที่ทุกคนควรจะศึกษาและน้อมนำมาปฏิบัติมีอยู่สี่ประการ พระราชดำรัส ในพระราชพิธีบวงสรวง                                   สมเด็จพระบุรพมหากษัติยาธิราชเจ้า ณ ท้องสนามหลวง วันจันทร์ที่ 5 เมษายน พุทธศักราช 2525 คุณธรรมที่ทุกคนควรจะศึกษาและน้อมนำมาปฏิบัติมีอยู่สี่ประการ  ประการแรก คือ การรักษาสัจ  ความจริงใจต่อตัวเอง  ที่จะประพฤติปฏิบัติแต่สิ่งที่เป็น ประโยชน์และเป็นธรรม  ประการที่สอง คือ การรู้จักข่มใจตนเอง  ฝึกใจตนเองให้ประพฤติปฏิบัติอยู่ในความสัจความดี  ประการที่สาม คือ การอดทน อดกลั้น และอดออม  ที่จะไม่ประพฤติล่วงความสัจสุจริต  ไม่ว่าจะด้วยเหตุใด  ประการที่สี่ คือ การรู้จักละวางความชั่ว  ความทุจริต  และรู้จักสละประโยชน์ส่วนน้อยของตน เพื่อประโยชน์ส่วนใหญ่ของบ้านเมือง 

ประการที่สาม คือ การที่ทุกคนประพฤติปฏิบัติตนอยู่ในความสุจริต ในกฎกติกา กระแสพระราชดำรัส พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภูมิพลอดุลยเดชมหาราช ณ สีหบัญชร พระที่นั่งอนันตสมาคม วันที่ 9 มิถุนายน พุทธศักราช 2549 ประการแรก คือ การที่ทุกคนคิด พูด ทำ ด้วยความเมตตา มุ่งดี มุ่งเจริญต่อกัน ประการที่สอง คือ การที่แต่ละคนต่างช่วยเหลือเกื้อกูลกัน ประสานงาน ประสาน ประโยชน์กัน ให้งานที่ทำสำเร็จผล ทั้งแก่ตน แก่ผู้อื่น และกับประเทศชาติ ประการที่สาม คือ การที่ทุกคนประพฤติปฏิบัติตนอยู่ในความสุจริต ในกฎกติกา และในระเบียบแบบแผน โดยเท่าเทียมเสมอกัน ประการที่สี่ คือ การที่ต่างคนต่างพยายามทำความคิด ความเห็นของตนให้ ถูกต้อง เที่ยงตรง และมั่นคงอยู่ในเหตุในผล                

ทศพิธราชธรรม หรือราชธรรม 10 ประการ 1. ทาน 2. ศีล 3. บริรจาคะ 4. ปริจจาคะ 5. มัททวะ 6. ตบะ 7. อักโกธะ 8. อวิหิงสา 9. ขันติ 10. อวิโรธนะ

ชาติ ประเทศ คือ ชุมชนในจินตนาการ การสร้างความปรองดอง คือ การแก้วิกฤติในการสร้างชาติ 1. สร้างคนดี 2. สร้างค่านิยมร่วม 3. สร้างสันติกับวัฒนธรรม 4. สร้างบรรยากาศ

วิธีการสร้างความปรองดอง 1. สร้างกระแสให้เกิดการมีส่วนร่วม 2. สร้างต้นแบบ 3. สร้างเครือข่าย 4. สร้างความประทับใจ บันดาลใจ ปลูกฝังอยู่ในใจ ทำซ้ำ ผลิตซ้ำทางกระบวนการคิด

ความสามัคคี และความรักชาติ เห็นชาติเป็นองค์รวม การปรองดอง คือ กระบวนการ แก้ไขปัญหาข้อขัดแย้ง เพื่อสร้างความรัก ความสามัคคี ซึ่งจะนำไปสู่การยอมรับ ประนีประนอม และสันติภาพ ความสามัคคี และความรักชาติ เห็นชาติเป็นองค์รวม

ศูนย์ปรองดองสมานฉันท์เพื่อการปฏิรูป 1. ศูนย์ปรองดองสมานฉันท์เพื่อการปฏิรูป กรมการปกครอง 2. ศูนย์ปรองดองสมานฉันท์เพื่อการปฏิรูป ระดับจังหวัด 3. ศูนย์ปรองดองสมานฉันท์เพื่อการปฏิรูป ระดับอำเภอ

วัตถุประสงค์ 1. สร้างความปรองดองสมานฉันท์ของคนในชุมชน และสังคม 2. สร้างความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องให้แก่ประชาชนในสังคม 3. สร้างจิตสำนึกในความรักชาติและรักษาวัฒนธรรมขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงามของไทย

เป้าหมาย เสริมสร้างความปรองดองสมานฉันท์ ลดและยุติปัญหาข้อขัดแย้ง สร้างความมั่นคงเพื่อประโยชน์สุข ของประชาชน

แนวทางการดำเนินงาน 1. ป้องกันและแก้ไขปัญหาข้อขัดแย้งของประชน และสังคม 2. เสริมสร้างการมีส่วนร่วมของภาคประชาสังคม 3. ปลูกฝังค่านิยมและจิตสำนึกความรักสามัคคี ของคนในชาติ

ค่านิยมหลักของคนไทย 12 ประการ 1. มีความรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์  2. ซื่อสัตย์ เสียสละ อดทน มีอุดมการณ์ในสิ่งที่ดีงาม เพื่อส่วนรวม  3. กตัญญูต่อพ่อแม่ ผู้ปกครอง ครูบาอาจารย์  4. ใฝ่หาความรู้ หมั่นศึกษาเล่าเรียนทั้งทางตรง และทางอ้อม  5. รักษาวัฒนธรรมประเพณีไทยอันงดงาม  6. มีศีลธรรม รักษาความสัตย์ หวังดีต่อผู้อื่น เผื่อแผ่และแบ่งปัน  7. เข้าใจเรียนรู้การเป็นประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็น ประมุขที่ถูกต้อง  8. มีระเบียบวินัย เคารพกฎหมาย ผู้น้อยรู้จักการเคารพผู้ใหญ่

ค่านิยมหลักของคนไทย 12 ประการ   9. มีสติรู้ตัว รู้คิด รู้ทำ รู้ปฏิบัติตามพระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  10. รู้จักดำรงตนอยู่โดยใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงตามพระราชดำรัสของ   พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รู้จักอดออมไว้ใช้เมื่อยามจำเป็น มีไว้พอกินพอใช้   ถ้าเหลือก็แจกจ่ายจำหน่าย และพร้อมที่จะขยายกิจการเมื่อมีความพร้อม เมื่อมี ภูมิคุ้มกันที่ดี  11. มีความเข้มแข็งทั้งร่างกาย และจิตใจ ไม่ยอมแพ้ต่ออำนาจฝ่ายต่ำ หรือกิเลส   มีความละอายเกรงกลัวต่อบาปตามหลักของศาสนา  12. คำนึงถึงผลประโยชน์ของส่วนรวม และของชาติมากกว่าผลประโยชน์ ของตนเอง

ขอบพระคุณทุกท่าน สวัสดี มือถือ 081-8487632 ID-line : 081-8289315 นายประดิษฐ์ ยมานันท์ รองอธิบดีกรมการปกครอง ฝ่ายความมั่นคง สนง. รองอธิบดีกรมการปกครอง ฝ่ายความมั่นคง