Supply Chain สินค้าเกษตร ในสหกรณ์การเกษตร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ์
Advertisements

แนวทางการจัดทำบัญชีสมดุลผลไม้
แผนงาน ส่งเสริมประสิทธิภาพการผลิตและสร้างมูลค่าภาค การเกษตร ผลผลิตที่ 3 สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการพัฒนาการ ดำเนินธุรกิจ กิจกรรมหลัก ส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจของสหกรณ์และ.
สุกร ส่วนวิจัยเศรษฐกิจปศุสัตว์และประมง สำนักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร
ข้อสรุปหลักสูตรการอบรมการผลิต รายการเด็ก TV4Kids.
บทที่5 การควบคุมการผลิตและต้นทุนการผลิต
สำนักงานสหกรณ์ จังหวัดกระบี่ รายงาน แผน / ผลการ ปฏิบัติงาน ประจำเดือนเมษายน 2555 กลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาธุรกิจสหกรณ์
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
… FACEBOOK … ..By Peerapon Wongpanit
กิจกรร ม 1 กิจกรร ม 3 กิจกรร ม 2 ส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร กิจกรรมแผนผลร้อยละ 1. สหกรณ์ / กลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและ พัฒนาธุรกิจ.
MRCF การเชื่อมโยงแนวทางการส่งเสริมการเกษตร
บทที่2 การวางแผนการผลิตและกำลังการผลิต
กลุ่มบริหารงานทั่วไป
การปรับโครงสร้างการผลิตเป็นแปลงใหญ่
ขยายโอกาสสร้างขีดความสามารถในการแข่งขัน
โครงการเมืองเกษตรสีเขียว ปี 2557
Royal project and Government project พระบิดาแห่งชาวโคนมไทย.
โปรแกรมคำนวณคะแนน สหกรณ์ ตามเกณฑ์ดีเด่นแห่งชาติ กรมส่งเสริม สหกรณ์ กองพัฒนาสหกรณ์ด้านการเงิน และร้านค้า วิธีการใ ช้
ทิศทางการตลาด และ การ สนับสนุนเกษตร อินทรีย์ โดย น. ส. สุทัศนีย์ ราช เรืองระบิน รองอธิบดี กรมการค้าภายใน.
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
สงกรานต์ ๒๕๕๗. ร่วมสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัย สงกรานต์ ทั่วไทยไร้อุบัติเหตุ  จะร่วมสร้างวัฒนธรรมความ ปลอดภัยกันอย่างไร  จะทำสงกรานต์ทั่วไทยไร้อุบัติเหตุ
การประเมินผลโครงการ คป สอ. เกาะช้าง ปี การดำเนินงาน 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ ประธาน คปสอ. เกาะช้าง ประธาน คณะกรรมการ ผอ. รพ. เกาะช้างรองประธาน เลขานุการผู้รับผิดชอบงาน.
ประเภทของ CRM. OPERATIONAL CRM เป็น CRM ที่ให้การสนับสนุนแก่กระบวนการธุรกิจ ที่เป็น “FRONT OFFICE” ต่างๆ อาทิ การขาย การตลาด และการ ให้บริการ SALES FORCE.
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
ปัจจัยแห่งความสำเร็จ
กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกร สำนักงานเกษตรจังหวัดน่าน
บทที่ 2 กลยุทธ์ช่องทางการจัดจำหน่าย (Place Strategy)
กลุ่มคำและประโยค ภาษาไทย ม. ๓
Design by Agri - Map สำนักงานชลประทานที่ ๘.
เรื่อง ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด
เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
ข่าวประชาสัมพันธ์สำนักงานเกษตรจังหวัดสุโขทัย
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ยินดีต้อนรับ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน (พลเอก สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์) และคณะ ในโอกาสตรวจเยี่ยมจังหวัดตาก วันที่ กรกฎาคม 2558.
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
สำนักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์ กรมปศุสัตว์
ความเสี่ยงเรื่องการตลาด
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
แนวทางปฏิบัติ กรมป่าไม้
ณ ห้องประชุมกองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
กลุ่มเกษตรกร.
มาฝึกสมองกันครับ.
การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตข้าวปลอดภัยและการบริหารจัดการเชิงคุณภาพ
การเตรียมการป้องกันและแก้ปัญหาภัยแล้ง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
Supply Chain Management
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
อ.ชิดชม กันจุฬา (ผู้สอน)
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
ระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่
อ. อรนพัฒน์ เหมือนเผ่าพงษ์ สาขาวิชาการจัดการโรงแรมและธุรกิจที่พัก
กฎหมายระเบียบและนโยบายที่เกี่ยวข้อง
การขายและการตลาดสำหรับธุรกิจโรงแรมและที่พัก
โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
ภูมิปัญญาผ้าหมักย้อมดินภูเขาไฟ :ผ้าภูอัคนี นางสมศรี เจ้าของภูมิปัญญา ปราชญ์ภูมิปัญญา การย้อมผ้าด้วยวัสดุธรรมชาติ เช่นมะเกลือ แก่นขนุน ใบสาบเสือ.
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Supply Chain สินค้าเกษตร ในสหกรณ์การเกษตร โดย ศิริภร กลิ่นกล่ำ ผู้เชียวชาญด้านธุรกิจข้าวของสหกรณ์ กรมส่งเสริมสหกรณ์

บริการ ท่องเที่ยว ค้าขาย ขนส่ง ระดับโลก / สากล เศรษฐกิจใหม่ (~5%) การเงินการธนาคาร (6.3%) การเชื่อมโยง บริการ ท่องเที่ยว ค้าขาย ขนส่ง (35%) อุตสาหกรรม (41.5%) เกษตรกรรม (11%) ชุมชนระดับฐานราก การเชื่อมโยงธุรกิจของประเทศไทย

ผลผลิตต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ (GDP) ภาคกิจกรรม สัดส่วนของ GDP ภาคเกษตร 11% ภาคอุตสาหกรรม 41.5% ภาคบริการ 47.5%

การเชื่อมโยงธุรกิจเพื่อเพิ่มผลผลิต (Productivity) แช่แข็ง / ไส้กรอก ไก่ย่าง / ไก่ทอด ส่งตามร้านอาหาร เมนูรสเด็ด บรรจุกระป๋อง / เชื่อม แช่อิ่ม / ทำน้ำผลไม้ / แช่แข็ง เลี้ยงไก่ เลี้ยงปลา ปลูกสับปะรด โรงเชือด แปรรูปเบื้องต้น ปลอกเปลือกเจาะแกน ปุ๋ย / เคมีภัณฑ์ อาหารสัตว์ / ปลา ตลาดในประเทศ /ตลาดต่างประเทศ

การสร้างมูลค่าเพิ่ม “หัวใจธุรกิจ” ความคิดพื้นฐาน : สินค้า หรือ ผลิตภัณฑ์ของเรา โดดเด่น แตกต่างจากคนอื่นในตลาด ทำอะไรก็ได้ : เพื่อสินค้าของเราขายได้กำไรมากขึ้น

กล้วยน้ำว้าดิบ หรือทุเรียนดิบ นำมาคลุกเคล้าเครื่องปรุง แล้วทอดกรอบ บรรจุถุงขาย เป็นขนมขบเคี้ยว อัญมณี เปลี่ยนจากการขายดิบๆ มาเจียระไน ตกแต่งเข้ามุมนำมาประกอบ ใส่ตัวเรือน เป็น แหวน ต่างหู จี้ สร้อยคอและกำไล เป็นการเพิ่มรูปลักษณ์

สหกรณ์ / กลุ่มเกษตรกร / กลุ่มอาชีพ เคยสร้างมูลค่าเพิ่ม หรือไม่ ? คำถามว่า : สหกรณ์ / กลุ่มเกษตรกร / กลุ่มอาชีพ เคยสร้างมูลค่าเพิ่ม หรือไม่ ?

การสร้างมูลค่าเพิ่มของที่นี่ คำถามว่า : การสร้างมูลค่าเพิ่มของที่นี่ เขาทำกันอย่างไร ?

วิธีการสร้างมูลค่าเพิ่ม : ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง กระบวนการผลิตและกระบวนการธุรกิจจะสามารถปรับเปลี่ยน ให้เร็วขึ้น ดีขึ้น มีคุณภาพสูงขึ้น หรือจะลดต้นทุนได้อย่างไร จะทำลายข้อจำกัดของกระบวนการธุรกิจแต่ละขั้นตอนอย่างไร ตั้งแต่การจัดหาวัตถุดิบ การออกแบบ การผลิต การจัดเก็บ การขนส่ง การเก็บรักษา การตลาด การขาย การให้บริการหลังการขาย

2. ดูความต้องการของตลาด เช่น วิเคราะห์ด้านผู้บริโภค ศึกษาพฤติกรรมของผู้บริโภค การเพิ่มสิ่งดีให้กับสินค้า การสร้างความพึงพอใจ

3. มูลค่าเพิ่มจะเกิดขึ้น สามารถตอบสนองตามที่ ลูกค้าต้องการได้

ยุทธศาสตร์ธุรกิจหรือต้นแบบธุรกิจ Demand Chain Value Chain Supply Chain ต้นน้ำ ต้องการ หาข้อมูล ตัดสินใจ เปรียบเทียบ จ่ายเงิน ใช้บริโภค กำจัด รักษาสภาพ / จัดเก็บ บริหาร Supplier การสื่อสาร ตลาด แนะนำทางแก้ เงินผ่อน / เครดิต บริโภคสะดวก ง่าย ดี ประหยัด บริหารจัดการ วัตถุดิบ ออกแบบ การผลิต/แปรรูป เก็บและนำส่ง บริการติดตั้ง เก็บเงิน บริการหลังการขาย สร้างตลาด สร้างความพึงพอใจ สิ่งที่สร้างความแตกต่างได้ ปลายน้ำ ยุทธศาสตร์ธุรกิจหรือต้นแบบธุรกิจ

สรุป นิยามของ Supply Chain สินค้าเกษตร คือ การเชื่อมโยงของทั้งหมดต่อกันทั้งในส่วนของ วัตถุดิบ สินค้า ข้อมูลและกิจกรรม เพื่อต้องการ ที่จะทำผลิตสินค้า จัดส่งสินค้า และให้บริการ แก่ลูกค้า รวมทั้งการจำหน่ายสินค้าและการไหล ของเงินสด (Cash Flow)

ระบบโซ่อุปทานสินค้าเกษตรของสหกรณ์ การไหลของข้อมูล สมาชิก สหกรณ์ ผู้ค้า ลูกค้า การไหลของ ผลิตภัณฑ์ขั้นต้น การไหลของ ผลิตภัณฑ์ขั้นต้น การไหลของเงิน การไหลของเงิน

SUPPLY CHAIN การเลี้ยงปลานิลของ สหกรณ์ประมงพาน จำกัด การจัดเตรียม บ่อปลา การจัดหา พันธุ์ปลา กระบวน การ เลี้ยงปลา การจับปลา ขาย การจำหน่าย ปลา 1 2 3 4 5 ลักษณะบ่อปลา สหกรณ์จัดซื้อลูกปลาที่ได้มาตรฐาน การให้อาหารปลาตามขนาดอายุปลา การเตรียมการจับปลาของสมาชิก จำนวนพ่อค้าขายส่งปลานิล 1.1 2.1 3.1 4.1 5.1 กำจัดศัตรูปลา สมาชิกปล่อยลูกปลา การให้เวชภัณฑ์ปลา สหกรณ์ทำหน้าที่ในการจับปลา ราคาตามราคาตลาด 1.2 2.2 3.2 4.2 5.2 ทำความสะอาดบ่อปลา เตรียมการจัดหาเครื่องตีน้ำ การใช้เครื่องตีน้ำ การจัดระบบบำบัดน้ำทิ้ง สหกรณ์ได้ค่าบริการจากพ่อค้า กิโลกรัมละ 1 บาท 1.3 2.3 3.3 4.3 5.3 เติมน้ำดีในบ่อ จัดระบบน้ำเข้า 3.4 1.4 การกำจัดวัชพืชริมบ่อ 3.5

การจัดการห่วงโซ่อุปทานธุรกิจสินค้าเกษตร ตัวอย่างที่ 1.1 การจัดการธุรกิจปลานิลของสหกรณ์ประมงพาน จำกัด การจัดเตรียมบ่อปลา ลูกค้า ผู้ขายส่ง 1 ปลานิลบ่อ 1 สมาชิก 1 ลูกค้า การจัดหาพันธุ์ปลา สหกรณ์การเกษตรประมงพาน จำกัด ลูกค้า การเลี้ยงปลา ปลานิลบ่อ 2 สมาชิก 2 ผู้ขายส่ง 2 ลูกค้า ลูกค้า การจับปลา ผู้ขายส่ง 3 ปลานิลบ่อ 3 สมาชิก 3 ลูกค้า การจำหน่ายปลา

การวิเคราะห์หน้าที่ทางธุรกิจในโซ่อุปทานสินค้าปลานิล ของสหกรณ์ประมงพาน จำกัด ส่วนของสมาชิก ส่วนของสหกรณ์ ส่วนของผู้ค้าและผู้บริโภค ผลผลิตปลานิล การบริหารจัดการปลา การแปรรูป การทำการตลาด พ่อค้า การให้ความรู้ การเลี้ยงปลา ผลลัพธ์ทางการเงิน จัดเรียงลำดับการปล่อยปลา/จับปลาของสมาชิก ผู้บริโภค การกำหนดวันปล่อยปลา จับปลาของสมาชิก พื้นที่ดินจัดทำบ่อปลา ดูแลรักษาและการจับปลา การเจรจาการขาย การขายส่ง-ปลีก การรวบรวมปลา การประชาสัมพันธ์ น้ำ ทุน การให้เงินกู้ธุรกิจปลา การจับปลาให้พ่อค้า พันธุ์ปลา เตรียมการจับปลา การจำหน่ายอาหารปลา การรับค่าบริการ ทุน การจำหน่ายปลา ผลลัพธ์ทางการเงิน การจำหน่ายเวชภัณฑ์

SUPPLY CHAIN การเลี้ยงสุกรของ สหกรณ์ประมงพาน จำกัด การจัดเตรียม คอกสุกร การจัดหาพันธุ์ ลูกสุกร กระบวน การ เลี้ยงสุกร การจับสุกร การจำหน่าย สุกร 1 2 3 4 5 ลักษณะ คอกสุกร สมาชิกจัดหา ลูกสุกร การให้อาหารสุกร การเตรียมตราชั่ง ราคาตามราคาตลาด 1.1 2.1 3.1 4.1 5.1 พื้นฐานการเลี้ยงสุกร การใช้เวชภัณฑ์ กับลูกสุกร ค่าบริการใน การจับสุกร 1.2 2.2 4.2 ทำความสะอาด คอกสุกร 1.3 ระบบน้ำและไฟฟ้า ในคอกสุกร 1.4

การจัดการห่วงโซ่อุปทานธุรกิจสินค้าเกษตร ตัวอย่างที่ 1.2 การจัดการธุรกิจสุกรของสหกรณ์ประมงพาน จำกัด การจัดเตรียมคอกสุกร ลูกค้า ผู้ขายส่ง 1 สุกรคอก 1 สมาชิก 1 ลูกค้า การจัดหาพันธุ์ลูกสุกร สหกรณ์การเกษตรประมงพาน จำกัด ลูกค้า การเลี้ยงสุกร สุกรคอก 2 สมาชิก 2 ผู้ขายส่ง 2 ลูกค้า ลูกค้า การจับสุกร ผู้ขายส่ง 3 สุกรคอก 3 สมาชิก 3 ลูกค้า การจำหน่ายสุกร

การวิเคราะห์หน้าที่ทางธุรกิจในโซ่อุปทานสินค้าสุกร ของสหกรณ์ประมงพาน จำกัด ส่วนของสมาชิก ส่วนของสหกรณ์ ส่วนของผู้ค้าและผู้บริโภค ผลผลิตสุกร การบริหารจัดการสุกร การแปรรูป การทำการตลาด พ่อค้า การให้ความรู้ การเลี้ยงสุกร ผลลัพธ์ทางการเงิน ผู้บริโภค จัดทำแผนการจับสุกร การให้เงินกู้ธุรกิจสุกร ดูแลรักษาและการจับสุกร การเจรจาการขาย ที่ดิน การจัดหาพ่อค้าจับสุกร อุปกรณ์การเลี้ยง การรวบรวมสุกร ทุน การรับค่าบริการ แรงงาน ทุน การจำหน่ายอาหารสุกร การจำหน่ายสุกร ผลลัพธ์ทางการเงิน พันธุ์สุกร การจำหน่ายเวชภัณฑ์ กำหนดวันจับสุกร วิธีการเลี้ยง การให้เวชภัณฑ์

กิจกรรมระดมความคิดเห็น วิธีการ 1. แบ่งกลุ่ม 3 กลุ่ม (ตามรายชื่อ) 2. ช่วยกันระดมความคิดภายในเวลา 1 ชั่วโมง 3. นำเสนอกลุ่มละ 15 นาที 4. เลือก ประธานกลุ่ม / เลขานุการกลุ่ม ประเด็นการสนทนาระดมความคิด 1. สร้าง Supply Chain การเพาะเห็ดในโรงเรือน 2. วิเคราะห์หน้าที่ทางธุรกิจในโซ่อุปทานการเพาะเห็ดในโรงเรือน 3. ปัญหาอุปสรรคในการจัดทำ Supply Chain

ท่านได้อะไรบ้างจาก Supply Chain ? คำถามว่า : ท่านได้อะไรบ้างจาก Supply Chain ?

วันนี้เราได้อะไรจาก Supply chain 1. สร้างระบบการบริหารจัดการสินค้า ให้มีระบบ 2. สามารถควบคุมการทำงานได้ง่าย 3. ทำให้เกิดการประหยัดจากการลดต้นทุนได้ 4. ทำให้การบริการลูกค้าเกิดความสะดวก และไม่ตกหล่นการบริการ

การทำ Supply Chain สิ่งที่จะต้องให้ได้ข้อมูล คือ ต้องการจะรู้ว่า สมาชิกส่วนใหญ่ทำอาชีพอะไร อาชีพอะไร กิจกรรม ทำอะไรบ้าง ทำเมื่อไหร่ ค่าใช้จ่ายเท่าไร สหกรณ์ให้บริการครบหรือยัง สหกรณ์มีการวางแผนธุรกิจ ตรงจุดหรือไม่

2. กลุ่มต่างๆ ของจังหวัดรู้ 1. กลุ่ม จนท. ควรเข้าไปแนะนำอะไรบ้าง เพื่อให้เกิด (1) ปลอดภัยต่อการบริโภค (2) คุ้มค่าการลงทุน บริหารความเสี่ยง (3) สามารถขอความช่วยเหลือได้ โดยไม่เสียโอกาส 2. สหกรณ์ควรจะพัฒนาอะไรได้อีก