การสอน : หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หลักคิด และหลักปฏิบัติ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
Advertisements

สิ่งแวดล้อมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน กับการบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
ข้อสรุปหลักสูตรการอบรมการผลิต รายการเด็ก TV4Kids.
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
วัตถุประสงค์การจัด นิทรรศการ พุทธพิสัย ความรู้ ความจำ ความเข้าใจ วิเคราะห์ สังเคราะห์และประเมินคุณค่า เจตพิสัย ความรู้สึก ความสนใจ อารมณ์ ทัศนคติ ค่านิยม.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
วิชา หลักการตลาด บทที่ 3
เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
เกษตรแบบผสมผสาน (Integrated Farming)
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต ๒.
การสร้างความตระหนักในโรงเรียนวิถีพุทธ
สำนักงานเลขานุการ สำนักวิทยบริการ. ยุทธศาสตร์ที่ 1 โครงการจัดหาวัสดุ ตำรา วารสาร ฐานข้อมูล เพื่อ ให้บริการในสำนักวิทยบริการ การพัฒนานำระบบ RFID มาใช้ในการจัดชั้น.
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับระบบการควบคุมภายใน ระดับสถานศึกษา ประจำปี 2559.
การวางแผน การศึกษาระดับ จุลภาค Micro Planning.  ความเชื่อพื้นฐานทางการวางแผน การศึกษา  การวางแผนก็เปรียบเสมือนการจัดให้มี แนวปฏิบัติว่าในระยะเวลาหนึ่งจะต้องทำ.
คนเป็นทรัพย์สินที่มี ค่ายิ่งของหน่วย อ้างอิง : สมาคมการจัดการงานบุคคลแห่งประเทศไทย คน เก่ง คน ดี คน มี ความ สุข เป้าหมายการ พัฒนากำลังพล เพื่อให้ทำงานอย่าง.
หลักสูตรการอบรมวิทยากรตัวคูณ ระดับจังหวัด ครั้งที่ 1 ภาคกลางตอนบน ( วันที่สอง ) ณ โรงแรมริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี ระหว่างวันที่ 9 – 11 มีนาคม 2558.
วิสัยทัศน์ ประเด็น ยุทธศาสตร์ สิ่งสำคัญที่ต้องทำ ให้บรรลุ เพื่อตอบสนอง วิสัยทัศน์ เป้าประสง ค์ หลัก ประสิทธิภ าพ ผลสำเร็จ สูงสุดของ องค์กรซึ่ง ประชาชน.
การจัดกิจกรรม ชุมนุม Science Club. การจัดกิจกรรมชุมนุมสนองตอบ วัตถุประสงค์ของการจัดการศึกษา ตามมาตรา ๒๔ ได้อย่างครบถ้วน.
รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
การบริหารหลักสูตร.
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
นางสาวศิวพร แพทย์ขิม เอกสุขศึกษา กศ. บ. คณะพลศึกษา.
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
กลุ่มคำและประโยค ภาษาไทย ม. ๓
หลักสูตรอาเซียน เพื่อสร้างประชาคมอาเซียน ให้เป็นประชาคมที่มุ่งเน้น การปฏิสัมพันธ์กับต่างประเทศ มีความมั่นคง มีสันติภาพ และมีความมั่งคั่ง.
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
เริ่มทำแบบทดสอบ แบบทดสอบก่อนเรียน หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
เริ่มทำแบบทดสอบ แบบทดสอบก่อนเรียน หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
ณ ห้องประชุมกองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
พนิตตา ลูกบัว นักประชาสัมพันธ์ สพป.นครราชสีมาเขต ๗
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาด้านการสอบด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer-based Assessment) การรู้เรื่องการอ่าน ด้านคณิตศาสตร์และด้านวิทยาศาสตร์
Model ผลที่คาดหวัง วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดหลัก
SMS News Distribute Service
YRC LANNA LOCAL WISHDOM
เรียนอย่างไรให้ประสบความสำเร็จ
การวัดและประเมินผลด้านพุทธิพิสัย (ตามลำดับขั้นการเรียนรู้ของ Benjamin Bloom) รศ. บรรพต พรประเสริฐ.
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
เราคือ ‘One PPG’ We protect and beautify the world วัตถุประสงค์ของเรา
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง
วัสดุและเทคนิค ทางการออกแบบ อ.สุวิธธ์ สาดสังข์ ( Material and
โดย เลขาธิการ กศน.(นายสุรพงษ์ จำจด)
การวางแผนกำลังการผลิต
นโยบายของรัฐด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม สมุดปกขาว BCG in Action การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมของประเทศไทย เพื่อเศรษฐกิจชีวภาพ.
การวัดและประเมินผลด้านพุทธิพิสัย (ตามลำดับขั้นการเรียนรู้ของ Benjamin Bloom) รศ. บรรพต พรประเสริฐ.
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
โครงการ “9,999 ตามรอยเท้าพ่อ”
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
เล่าเรื่องอย่างผู้นำ Coaching by story
โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่นโดยมีสถาบันอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยง (TOR) คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม . . ฝ่ายวิชาการ . .
1. ตระหนักในคุณค่าของ คุณธรรมจริยธรรม
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การสอน : หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หลักคิด และหลักปฏิบัติ การสอน : หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หลักคิด และหลักปฏิบัติ รศ.ไพโรจน์ คีรีรัตน์ ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล มอ. Email : kirirat.pairoj@gmail.com โทร 074-287207

เนื้อหา สภาพการสอน ปศพพ. ในโรงเรียน นำเสนอโดยตัวแทนครู ทักษะการเรียนรู้เพื่อการเปลี่ยนแปลง ทักษะการฟัง และ สุนทรียสนทนา ทักษะการคิดเชิงเหตุผล ทักษะการคิดแบบหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง แนวทางการขับเคลื่อน

ใช้หลักไม่เชื่อ 10 ประการ...จนกว่าจะใคร่ครวญแล้วและเชื่อ 1. อย่าเพิ่งเชื่อ ตามที่ฟังต่อ ๆ กันมา 2. อย่าเพิ่งเชื่อ ตามที่ทำต่อ ๆ กันมา 3. อย่าเพิ่งเชื่อ ตาม คำเล่าลือ 4. อย่าเพิ่งเชื่อ โดย การอ้างตำราหรือคัมภีร์ 5. อย่าเพิ่งเชื่อ โดย การนึกเดา 6. อย่าเพิ่งเชื่อ โดย การคาดคะเนเอง 7. อย่าเพิ่งเชื่อ โดย นึกคิดตามแนวเหตุผล 8. อย่าเพิ่งเชื่อ ตาม เพราะเข้าได้กับทฤษฎีของตน 9. อย่าเพิ่งเชื่อ เพราะ มีรูปลักษณ์ที่น่าเชื่อถือได้ 10. อย่าเพิ่งเชื่อ เพราะ ผู้พูดเป็นเป็นครูบาอาจารย์ของตน

การรู้ = ความรู้เดิม + ประสบการณ์/ข้อมูลใหม่ + การคิด การประเมิน/การสร้างสรรค์ การสังคราะห์ การวิเคราะห์ การประยุกต์ใช้ การเข้าใจ การจำได้ ของใหม่ ของเดิม การเรียนรู้

คำถาม : ทักษะในการจัดการความทุกข์ คือ อะไร ทำให้เด็กมีทักษะ คือ การสอน “ความผิดพลาดในชีวิตของเด็ก มันไม่ได้เกิดจากการไม่มีทักษะอาชีพ แต่เกิดจากการไม่มีทักษะในการจัดการกับความทุกข์ (ความจน ความรัก ความคับแค้น ...) คัดลอกจาก หนังสือเด็กน้อยเติบโตเข้าหาแสง คำถาม : ทักษะในการจัดการความทุกข์ คือ อะไร ทำให้เด็กมีทักษะ คือ การสอน จะออกแบบการสอนอย่างไร

“ตั้งคำถามอย่างไร” จึงจะทำให้ผู้ตอบ “รู้ได้ด้วยตัวเอง” ถาม เพื่อให้คิดและรู้ได้ โดยอาศัย “ความรู้และประสบการณ์เดิม” คำตอบ เป็นข้อความหรือประโยค ที่ประกอบด้วย ข้ออ้าง (เหตุผล) ข้อมูลสนุบสนุน และขอสรุป ตัวอย่าง คนไม่อยากทำงานที่ใช้แรงงาน (ข้อสรุป) เพราะเงินดือนน้อย (ข้ออ้าง) เนื่องจากแรงงานมีรายได้เริ่มต้น 300 บาทต่อวัน (ข้อมูลสนับสนุน)

ฝึกตั้งคำถาม : จงตั้งคำถามกับเรื่องเล่าของครู ชนิดคำถาม : อะไร (วัสดุ) / ใคร (เพื่อรู้เป้าหมายตรงกัน / เข้าใจตรงกัน) ทำไม (เพื่อรู้เหตุและผล) อย่างไร (เพื่อรู้วิธีการ) เท่าไร (เพื่อรู้ปริมาณ) เมื่อไหร่ (เพื่อรู้เวลา) กิจกรรม : เล่าการสอนปศพพ. สถานการณ์จากเรื่องเล่าของครู : โรงเรียนได้จัดการเรียนการสอน ปศพพ. มาตั้งแต่ปี........ ครู........คน สอน ปศพพ. ผ่านวิชา........และกิจกรรม....................................... วิธีการสอนที่ใช้ คือ............................ ผลที่ได้ คือ........................................ สิ่งที่จะพัฒนาต่อ คือ..........................

“คำถาม” และ “ตอบ” เกี่ยวกับปศพพ. นำไปสู่ “ความรู้พื้นฐาน” คำตอบ มีฐานเรียนรู้พร้อม มีการสอนแบบโครงงาน มีการตั้งคำถาม กระตุ้นให้เด็กคิดเอง สังเคราะห์เป็นความรู้ มีโรงเรียน 3 กลุ่ม กลุ่มพร้อมเป็นศูนย์ใน 1 ปี กลุ่มพัฒนาอีก 2 ปี และกลุ่มที่ต้องมากกว่า 2 ปี

กิจกรรมที่ : ถอดบทเรียน “การสอน ปศพพ.”ของแต่ละโรงเรียน สอนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่ออะไร ครูสอนอะไรบ้าง ครูสอนอย่างไร (วิธีสอน/เทคนิคสอน) ครูใช้สื่อ/อุปกรณ์ อะไรบ้าง ความสำเร็จ / ปัญหา / อุปสรรค คือ อะไร

กิจกรรมที่ : จงออกแบบการสอน เพื่อให้นักเรียนมีความสามารถจัดการความทุกข์ เป้าหมาย (มีทักษะจัดการความทุกข์) วิธีการสอน/จัดกิจกรรม (มีอะไรบ้าง รู้ได้อย่างไรว่าดี/มีประสิทธิภาพ) ประเมินผล (วัดอย่างไร ว่าเด็กมีความสามารถแล้ว)

การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว เชื่อมกับ ทรัพยากร 4 ด้าน คือ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นทั้งหลักคิด และแนวปฏิบัติ ที่มี 3 หลักการ คือ ความพอประมาณ ความมีเหตุผล การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว เชื่อมกับ ทรัพยากร 4 ด้าน คือ วัตถุ / เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม ความรู้ คุณธรรม ส่งผล

ทำความเข้าใจ : หลักคิดวิเคราะห์ เชื่อมโยง 3 ห่วง 2 เงื่อนไข พอประมาณ ทำความเข้าใจ : หลักคิดวิเคราะห์ เชื่อมโยง 3 ห่วง 2 เงื่อนไข เหตุผล ภูมิคุ้มกันที่ดี ความรู้ คุณธรรม ปัจจัยภายนอก: 4 มิติ : วัตถุ(เศรษฐกิจ), สังคม, สิ่งแวดล้อม, วัฒนธรรม

กิจกรรมที่ 2 : จงระบุปัญหาจากการสอน ปศพพ. ในโรงเรียนของฉัน กิจกรรมที่ 2 : จงระบุปัญหาจากการสอน ปศพพ. ในโรงเรียนของฉัน สอนแบบครูให้คำตอบ การบูรณาการในชั้นเรียน การจัดกิจกรรม การบริหารจัดการ

เราใช้ “เหตุผล” ใน “การตัดสินใจ” ที่จะเนินการเรื่องต่าง ๆ ความมีเหตุผล เราใช้ “เหตุผล” ใน “การตัดสินใจ” ที่จะเนินการเรื่องต่าง ๆ บนพื้นฐานความถูกต้องตามความจริง ตามหลักวิชาการ หลักกฏหมาย หลักศีลธรรม จริยธรรม ค่านิยม และวัฒนธรรม พิจารณา “เหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้อง” รู้จักคาดถึง “ผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้น” จากการกระทำ(ระยะสั้น ระยะยาว) ต่อตัวเอง ต่อผู้อื่น ต่อส่วนรวม (ครอบครัว, ชุมชน, ประเทศ, โลก) รู้จักพิจารณาแยะแยะและเห็นการเชื่อมโยงอย่างเป็นระบบ เหตุ ผลระยะสั้น ผลระยะยาว ปัจจัย /เงื่อนไข ที่มา : ดร.จิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา และ ดร.ปรียานุช พิบูลสราวุธ. ตามรอยพ่อ..ชีวิตพอเพียง...สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน

ฝึกคิดสาวหา “เหตุ” และสืบหา “ผล” สถานการณ์ ครูเล่าเรื่องราวสั้นๆ วิเคราะห์ด้วยคำถาม ใช้คำถาม “อะไร ทำไม อย่างไร” แสดงภาพ เขียนเป็นผังด้วยคำ/ข้อความสำคัญ อะไร  เหตุ  ผล  อะไร เรื่องเล่า :

ความพอประมาณ (ในฐานะเศรษฐกิจ/การผลิต) (1) การใช้ทรัพยากร ( ทุนเดิมของตัวเอง หรือในท้องถิ่น) เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด ก่อนจะไปหามาจากภายนอก (2) ใช้ให้พอเหมาะ กับ เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม คือ ไม่มากเกินศักยภาพ และไม่น้อยเกินจนขาดแคลน ไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น ไม่ทำให้สังคมเดือดร้อน ไม่ทำลายธรรมชาติ ทางเลือก การประเมิน สรุป ใช้ประเมินทางเลือก ใช้ตัดสินใจ ที่มา : ดร.จิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา และ ดร.ปรียานุช พิบูลสราวุธ. ตามรอยพ่อ..ชีวิตพอเพียง...สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน

ฝึกคิดประเมินทางเลือก สถานการณ์ ครูเล่าประสบการณ์การตัดสินใจ เช่น “ การจัดการทรัพยากร (เวลา งบประมาณ เนื้อหา วัสดุ แรงงาน) ” ในการจัดการเรียนการสอน ปศพพ. ฝึกใช้คำถามเพื่อเรียนรู้ :ใช้คำถาม “อะไร ทำไม อย่างไร” เพื่อให้เข้าใจ สรุปผล : ครูใช้หลักความพอประมาณอย่างไร

การมีภูมิคุ้มกันที่ดี หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อม เพื่อรับผลกระทบ และการเปลี่ยนแปลง ในด้านต่าง ๆ (วัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรม) ที่สามารถปรับตัวและรับมือได้ทันท่วงที ไม่เสี่ยง ไม่ประมาท พิจารณา โดยคำนึงถึง “ความเป็นไปได้” และ “ผลกระทบ” ของสถานการณ์ หรือ “ความเสี่ยง” จากปัจจัยภายนอก (4 มิติ) เป้าหมายเพื่อเตรียมพร้อมให้กับตัวเอง และผู้ที่เกี่ยวข้อง เข้าใจสถานการณ์และปัจจัยภายนอก ประเมิน และคาดการณ์อนาคต ที่มา : ดร.จิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา และ ดร.ปรียานุช พิบูลสราวุธ. ตามรอยพ่อ..ชีวิตพอเพียง...สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน

การวิเคราะห์ “ห่วงภูมิคุ้มกัน” ประเมิน ปัจจัยภายนอก วัตถุ/เศรษฐกิจ, สังคม สิ่งแวดล้อม, วัฒนธรรม เหตุผล ความรู้ คุณธรรม เตรียมแผนรองรับ ความเสี่ยง เปลี่ยน รู้ ปรับ เกิด สิ่งที่จะทำ ผล ปัจจุบัน อนาคต

วัตถุ หมายถึง วัตถุทางกายภาพ วัตถุ หมายถึง วัตถุทางกายภาพ เกี่ยวข้องกับ เศรษฐกิจ เงินทุน และการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่จำกัด สังคม หมายถึง สภาพการอยู่ร่วมกันของคน ความสัมพันธ์ของคน สิ่งแวดล้อม ( ทรัพยากรธรรมชาติ ชุมชน สังคม ประเทศ และ โลก ) ความสมบูรณ์ ความหลากหลาย(ชีวภาพ) ความปกติของภูมิอากาศ ซึ่งมีผลต่อปัจจัยการผลิต วัฒนธรรม (ตัวตน) หมายถึง วิถีการดำเนิน/ดำรงชีวิต ความเชื่อ ศาสนา รบบคุณค่า ภูมิปัญญา การประกอบอาชีพ การรักษษสุขภาพ การแต่งตัว ขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปะ การแสดง โบราณสถาน ที่มา : ดร.จิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา และ ดร.ปรียานุช พิบูลสราวุธ. ตามรอยพ่อ..ชีวิตพอเพียง...สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน

สถานการณ์การกระทำ “สิ่งกระทำ” สัมพันธ์กับ “ตัวเอง” และ “ปัจจัยภายนอก” พอประมาณ รู้ทัน “ความเสี่ยง” และ “ผลกระทบ” เหตุผล ภูมิคุ้มกันที่ดี เหตุ  ผล ความรู้ คุณธรรม ปัจจัยภายนอก: 4 มิติ : วัตถุ(เศรษฐกิจ), สังคม, สิ่งแวดล้อม, วัฒนธรรม

คนพอเพียง อุปนิสัยพอเพียง เหตุผล + เงื่อนไข 2 ประการ ความรู้ (เป็นปัจจัยความสำเร็จ) + คุณธรรม (กำกับให้สำเร็จ) 1. ความสมดุล สำหรับตัดสินใจ 2. ประโยชน์ส่วนรวม 3. ความมั่นคงที่เน้นฐานราก พึ่งตัวเองก่อน 4. คนมีคุณภาพ พอประมาณ คนพอเพียง อุปนิสัยพอเพียง ภูมิคุ้มกัน มีทักษะคิด แบบ 3 ห่วง 2 เงื่อนไข หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (หลักคิด + หลักปฏิบัติ) ความสุข ยั่งยืน

วิเคราะห์ ตัดสินใจ ได้ผล สมดุลกับปัจจัย พอประมาณ วัตถุ/เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม เหตุผล ความรู้รู้ คุณธรรมร วิเคราะห์ ตัดสินใจ ได้ผล ความเป็นไปได้ ความเสี่ยง ผลกระทบ ทางเลือก ภูมิคุ้มกัน เหตุผล ความรู้รู้ คุณธรรมรู้

การฝึกถาม การสอน ปศพพ. คือ การตั้งคำถาม เพื่อฝึกการคิดของผู้เรียน พอประมาณ การฝึกถาม คือ ถามตัวเอง ถามผู้อื่น ฝึกสติ (วิชารู้สึกตัว) ฝึกถอดบทเรียน เหตุผล ภูมิคุ้มกันที่ดี ความรู้ คุณธรรม 4 มิติ : วัตถุ(เศรษฐกิจ), สังคม, สิ่งแวดล้อม, วัฒนธรรม

คำถามถอดบทเรียน  ทำไม จึงทำกิจกรรมหรือสิ่งนี้ (เหตุผลของเหตุการณ์) อะไร คือ แรงบันดาลใจ (เหตุผลของตัวเอง) มีทรัพยากรสนับสนุนเพียงพอหรือไม่ (เงิน คน ความรู้ ทักษะ อุปกรณ์ และอื่น ๆ) ถ้ามี ท่านใช้ทรัพยากรอย่างไร ถ้าไม่มี ท่านแก้ปัญหาอย่างไร (ความพอประมาณ) กิจกรรมหรือสิ่งที่ทำนั้น ส่งผลกระทบอย่างไร (ภูมิคุ้มกัน) กิจกรรมหรือสิ่งที่ทำ ต้องใช้ความรู้อะไรบ้าง ท่านมีความสามารถเพียงพอหรือไม่ ถ้าไม่มีจะทำอย่างไร มีความเหมาะสมกับท้องถิ่นเราอย่างไร (ความรู้ และ พอประมาณ) อะไร คือ ที่คาดหวังจากการทำสิ่งนี้ มีปัญหาอะไรบ้าง จากการทำครั้งนี้ และได้แก้ปัญหานั้นอย่างไร ในการทำกิจกรรมหรือสิ่งนี้ ได้ทำให้ตัวเองได้พัฒนาอะไรบ้าง หลังจากทำสิ่งนี้แล้ว ได้ความรู้อะไรเพิ่มขึ้นบ้าง รู้ได้อย่างไรว่าความรู้ที่ได้มาถูกต้อง น่าเชื่อถือ เป็นไปตามหลักวิชาการ และตามบริบทของท้องถิ่น และมีประโยชน์ กิจกรรมหรือสิ่งที่ทำนั้น ได้ฝึกนิสัยตัวเองเรื่องใดบ้าง

จบการบรรยาย