งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

พนิตตา ลูกบัว นักประชาสัมพันธ์ สพป.นครราชสีมาเขต ๗

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "พนิตตา ลูกบัว นักประชาสัมพันธ์ สพป.นครราชสีมาเขต ๗"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 พนิตตา ลูกบัว นักประชาสัมพันธ์ สพป.นครราชสีมาเขต ๗
พนิตตา ลูกบัว นักประชาสัมพันธ์ แนวคิดการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาวปรียานุช พิบูลสราวุธ อนุกรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ คณะอนุกรรมการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง ณ โรงแรมเดอะโรสกาเดน เอไพรม รีสอร์ท สวนสามพราน จ. นครปฐม ระหว่างวันที่ ๓๐-๓๑ มกราคม ๒๕๔๗ สพป.นครราชสีมาเขต ๗

2 สุโขทัยธรรมาธิราช วงษ์ชวลิตกุล
บริหารการศึกษา สุโขทัยธรรมาธิราช วงษ์ชวลิตกุล แนวคิดการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาวปรียานุช พิบูลสราวุธ อนุกรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ คณะอนุกรรมการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง ณ โรงแรมเดอะโรสกาเดน เอไพรม รีสอร์ท สวนสามพราน จ. นครปฐม ระหว่างวันที่ ๓๐-๓๑ มกราคม ๒๕๔๗

3 รางวัล บุคลากร สพฐ.ดีเด่น
ระดับประเทศ ปี ๒๕๕๔ แนวคิดการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาวปรียานุช พิบูลสราวุธ อนุกรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ คณะอนุกรรมการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง ณ โรงแรมเดอะโรสกาเดน เอไพรม รีสอร์ท สวนสามพราน จ. นครปฐม ระหว่างวันที่ ๓๐-๓๑ มกราคม ๒๕๔๗

4 ผู้ประเมินสถานศึกษาพอเพียง
สพฐ. กระทรวงศึกษาธิการ แนวคิดการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาวปรียานุช พิบูลสราวุธ อนุกรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ คณะอนุกรรมการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง ณ โรงแรมเดอะโรสกาเดน เอไพรม รีสอร์ท สวนสามพราน จ. นครปฐม ระหว่างวันที่ ๓๐-๓๑ มกราคม ๒๕๔๗

5 ให้เกิดความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องในหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ทบทวน)
นำหลักคิด ปลูกฝัง ให้เด็กและเยาวชนในสถานศึกษานำไปประยุกต์ใช้ได้กับวิถีชีวิต - พร้อมรับการประเมินสถานศึกษาพอเพียง

6 ประเทศไทย/โลก ประสบปัญหา
ประเทศไทย/โลก ประสบปัญหา

7 เกิดจากมนุษย์ ๓ สิ่งแวดล้อมถูกทำลาย ๑ คนหลงวัตถุ ๒ สังคมเปลี่ยน
๑ คนหลงวัตถุ ๒ สังคมเปลี่ยน ๓ สิ่งแวดล้อมถูกทำลาย ทรัพยากรขาดแคลน ๔ วัฒนธรรมประเพณี รากฐานแนวคิดมาจากหลักธรรม ทางพระพุทธศาสนา แต่สามารถประยุกต์ ใช้ได้กับทุกคน ทุกศาสนาในโลก

8 จึงต้องหาทางแก้ปัญหา
๔ มิตินี้

9 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ฯ
ที่มาและความสำคัญ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ฯ

10 ผนวกกับรากฐานแนวคิดหลักธรรม ทางพระพุทธศาสนา
วิถีชีวิต วัฒนธรรม ความเป็นคนไทย ผนวกกับรากฐานแนวคิดหลักธรรม ทางพระพุทธศาสนา นำมาจากการสังเกต วิถีชีวิต วัฒนธรรมความเป็นคนไทย ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้พบเห็นตลอดการทรงงานของพระองค์ ตกผลึกเป็นหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพ

11 เป็นหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ตกผลึก นำมาจากการสังเกต วิถีชีวิต วัฒนธรรมความเป็นคนไทย ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้พบเห็นตลอดการทรงงานของพระองค์ ตกผลึกเป็นหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพ เป็นหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

12 “...เศรษฐกิจพอเพียง...เป็นเสมือนรากฐานของชีวิต รากฐานความมั่นคงของแผ่นดิน เปรียบเสมือนเสาเข็มที่ถูกตอกรองรับบ้านเรือน ตัวอาคารไว้นั่นเอง สิ่งก่อสร้างจะมั่นคงได้ก็อยู่ที่เสาเข็ม แต่คนส่วนมากมองไม่เห็นเสาเข็ม และลืมเสาเข็มเสียด้วยซ้ำไป” (พระราชดำรัสฯ จากวารสารชัยพัฒนาประจำเดือน สิงหาคม พ.ศ.2542)

13 หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
มีแนวคิดที่ต่อเนื่องจากแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๘-๑๐ แผนฯ ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550–2554) ปัจจุบันใช้ฉบับที่ 11 ประชาชนต้องมีภูมิคุ้มกัน ฉบับที่ ๑๑ ยังคงยึดหลักการปฏิบัติตาม “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” และขับเคลื่อนให้บังเกิดผลในทางปฏิบัติที่ชัดเจนยิ่งขึ้นในทุกภาคส่วน ทุกระดับ ยึดแนวคิดการพัฒนาแบบบูรณาการเป็นองค์รวมที่มี “คนเป็นศูนย์กลางการพัฒนา”

14 ในส่วนของภาคการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
เริ่มปี ๒๕๔๙- ปัจจุบัน รวม ๑๐ ปี มุ่งเน้นจัดการเรียนการสอน ๘ สาระ (เด็กเป็นสำคัญ) ต่อเนื่อง เพราะมีอยู่ในหลักสูตร/ในรัฐธรรมนูญ ต้องมีการประเมิน เพื่อให้เกิดคุณภาพ ประเมินวิธีคิด วิธีทำงาน ตามหลัก ปศพ.

15 สมดุล/พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลง
มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกัน ในตัวที่ดี ทางสายกลาง พอประมาณ เงื่อนไขความรู้ รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง เงื่อนไขคุณธรรม ซื่อสัตย์สุจริต สติปัญญาขยันอดทน แบ่งปัน เศรษฐกิจพอเพียงคืออะไร เศรษฐกิจพอเพียงมีกรอบแนวคิดคือ เป็นปรัชญาชี้แนะแนวทางปฏิบัติตนในทางที่ควรจะเป็น มีพื้นฐานมาจากวิถีชีวิตของสังคมไทย และเป็นการมองโลกเชิงพลวัตร มุ่งเน้นการรอดพ้นจากวิกฤต ดังนั้น เศรษฐกิจพอเพียง จึงเป็นปรัชญาชี้ถึงแนวการดำรงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับให้ดำเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์ โดยคำนึงถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจำเป็นที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควรต่อผลกระทบอันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายใน บนพื้นฐานของความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวัง รวมทั้งจะต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนให้มีสำนึกใน คุณธรรม ซื่อสัตย์สุจริต ดำเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร ใช้สติปัญญา เพื่อให้เกิดการพัฒนาที่สมดุลและยั่งยืน พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงในทุกด้าน ทั้งนี้ เศรษฐกิจพอเพียงมีความหมายกว้างกว่าทฤษฎีใหม่ โดยที่ เศรษฐกิจพอเพียง เป็นกรอบแนวคิดที่ชี้บอกหลักการและแนวทางปฏิบัติของทฤษฎีใหม่ ในขณะที่ เกษตรทฤษฎีใหม่ เป็นตัวอย่างการใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในทางปฏิบัติ ทฤษฎีใหม่ตามแนวพระราชดำริ อาจเปรียบเทียบกับหลักเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งมีอยู่ ๒ แบบ คือ แบบพื้นฐานกับแบบก้าวหน้า กล่าวคือ - ความพอเพียงในระดับบุคคล/ครอบครัว เป็นเศรษฐกิจพอเพียงแบบพื้นฐาน เทียบได้กับทฤษฎีใหม่ขั้นที่ ๑ - ความพอเพียงในระดับชุมชน/ระดับองค์กร เป็นเศรษฐกิจพอเพียงแบบก้าวหน้าซึ่งครอบคลุม ทฤษฎีใหม่ขั้นที่ ๒ - ความพอเพียงในระดับประเทศ เป็นเศรษฐกิจ พอเพียงแบบก้าวหน้า ครอบคลุมทฤษฎีใหม่ขั้นที่ ๓ นำไปสู่ สมดุล/พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลง วัตถุ/สังคม/สิ่งแวดล้อม/วัฒนธรรม

16 * ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไม่น้อยเกินไป และ ไม่มากเกินไป โดยไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น
* ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความ พอเพียงจะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุ ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนคำนึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจาก การกระทำ อย่างรอบคอบ * การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับ ผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงด้านต่างๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในอนาคตทั้งใกล้และไกล

17 การตัดสินใจและการดำเนินกิจกรรมต่างๆ ให้อยู่ในระดับพอเพียง ต้องอาศัยทั้งความรู้และคุณธรรมเป็นพื้นฐาน
* เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้ เกี่ยวกับวิชาการ ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างรอบด้าน ความรอบคอบ ที่จะนำความรู้ เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผน และความระมัดระวังในขั้นปฏิบัติ * เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะต้องเสริมสร้าง ประกอบด้วย ความ ตระหนักในคุณธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริต และความอดทน มีความเพียร ใช้สติปัญญาในการดำเนินชีวิต

18 ด้านสังคม ด้านสิ่งแวดล้อม ด้านวัฒนธรรม ลงสู่๔มิติ คือข้อควรคำนึง
ลงสู่๔มิติ คือข้อควรคำนึง ด้านวัตถุ ด้านสังคม ด้านสิ่งแวดล้อม ด้านวัฒนธรรม

19 กิจกรรมการเรียนการสอน เอกสาร
การเตรียมความพร้อม ด้านกายภาพ ภูมิทัศน์ บุคลากร ครู นักเรียน กิจกรรมการเรียนการสอน เอกสาร

20 การถอดบทเรียน 1 ผู้บริหาร 2 บุคลากร ครู นักเรียน

21 สิ่งที่น่าจะเกิดขึ้นกับเยาวชนและประชาชนชาวไทย
ไม่ฟุ้งเฟ้อ ไม่หลงวัตถุ รู้จักเก็บออม มีความพอดี ประพฤติชอบ ทำสิ่งใดมีหลักคิดมีเหตุผลที่ถูกต้อง สุจริตใจ ละเลิก การแก่งแย่งเบียดเบียนผู้อื่น คิดถึงส่วนรวม รักษาวัฒนธรรม ประเพณีที่ดีงาม พร้อมสืบทอด ฯ

22 โดยพื้นฐานก็คือ การพึ่งตนเอง เป็นหลัก การทำอะไรอย่างเป็นขั้นเป็นตอน รอบคอบ ระมัดระวัง
พิจารณาถึงความพอดี พอเหมาะ พอควร ความสมเหตุสมผล และพร้อมรับความเปลี่ยนแปลง สามห่วง การสร้างคุณธรรมให้เกิดขึ้นบนพื้นฐานของความสมดุลในแต่ละสัดส่วน/ทำสิ่งใดต้องมีความรอบรู้ สองเงื่อนไข ครอบคลุมทั้งทางด้านจิตใจเศรษฐกิจ สังคม เทคโนโลยี ทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อม และคำนึงถึงวัฒนธรรม

23 ที่สมเหตุสมผลให้กับตัวเองให้ได้ และเราก็จะพบกับความสุข
ต้องสร้างความพอดี ที่สมเหตุสมผลให้กับตัวเองให้ได้ และเราก็จะพบกับความสุข

24 สวัสดี


ดาวน์โหลด ppt พนิตตา ลูกบัว นักประชาสัมพันธ์ สพป.นครราชสีมาเขต ๗

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google