Evaluation of Thailand Master Plan 2002-2006 เสนอ อาจารย์ อภิศักดิ์ พัฒนจักร โดย นางสาวทิพย์สุคนธ์ ฉายพุทธ รหัส 473020027-1 นาย ศักดา สินธุจริวัตร รหัส 473020071-8
รู้จักกับ Evaluation of Thailand Master Plan กล่าวถึงความจำเป็นและแนวทางของประเทศไทยที่จะสร้างความเข้มแข็งในการแข่งขันกับประเทศอื่นๆ ในยุคโลกาภิวัฒน์ด้วยการพัฒนาสังคมไทยและประชากรไทยให้เป็นสังคมของการเรียนรู้ที่สามารถใช้ภูมิปัญญามาพัฒนาประเทศชาติให้เจริญก้าวหน้า กลายเป็นสังคมที่พัฒนาแล้วในทุกด้าน เกิดความมั่นคงและความเจริญก้าวหน้าที่ยั่งยืน ทำให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี
การกำหนดกลยุทธ์การพัฒนาโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศไว้ ๕ กลุ่ม เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการพัฒนาด้านภาครัฐ (e-Government) เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการพัฒนาด้านพาณิชย์ (e-Commerce) เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการพัฒนาด้านอุตสาหกรรม (e-Industry) เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการพัฒนาด้านการศึกษา (e-Education) เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการพัฒนาด้านสังคม (e-Society)
ความเชื่อมโยงระหว่าง๕ กลุ่มยุทธศาสตร์กับปัจจัยสามด้าน การสร้างทรัพยากรมนุษย์ การส่งเสริมนวัตกรรม โครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศและอุตสาหกรรมสารสนเทศ
การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำหรับประเทศไทย โอกาส • ทัศนคติที่ดีของผู้นำต่อ ICT • ภูมิศาสตร์ (ตำแหน่งที่ตั้ง)ของประเทศไทย • มีนโยบายและมาตรการ ICTที่ชัดเจน • ศักยภาพของตลาด ICT • ICT และการสร้างมูลค่าu3648 เพิ่มให้ภาคเศรษฐกิจอื่น • มีการพัฒนากฎหมาย ICT • การเป็นสังคมเปิด • การปรับฐานเศรษฐกิจ
การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำหรับประเทศไทย (ต่อ) ข้อจำกัด • ความเข้าใจต่อประโยชน์ ICTทั่วไปยังน้อย • หลักสูตรการศึกษาไม่เอื้อต่อทักษะ R&D • ขาดนโยบายสนับสนุน R&D • พื้นฐานการศึกษาต่ำ • ความไม่พร้อมของผู้ประกอบการต่อการเปิดเสรีและสภาพโลกาภิวัตน์ •ความตกต่ำและผันผวนของภาวะเศรษฐกิจ •การใช้ ICTยังไม่เกิดประโยชน์เต็มที่ •กฎระเบียบที่ไม่เอื้อต่อการใช้ประโยชน์ ICT
การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำหรับประเทศไทย(ต่อ) จุดแข็ง •การขยายตัวของผู้ประกอบการ ICT •การจัดตั้ง CIOของภาครัฐ •ความตื่นตัวด้าน ITเพิ่มขึ้น •การผลิตบุคลากร ITสายอาชีวศึกษา •ความประณีตของคนไทยและภูมิปัญญาไทย:โอกาสของ Software และ multimedia/games •โครงสร้างพื้นฐานกายภาพที่ดี •เป็นประเทศน่าอยูอ่ ากาศสบาย มีความสงบทางสังคม
วัตถุประสงค์ของแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย ประยุกต์ใช้ ICT เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจของประเทศ ประยุกต์ใช้ ICT เพื่อพัฒนาสังคมแห่งภูมิปัญญาและการเรียนรู้ที่สนองคุณภาพชีวิตได้โดยตรง ประยุกต์ใช้ ICT เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนโดยการกระจายบริการ ICT ที่มีคุณภาพ ครอบคลุมและเข้าถึงได้อย่างทั่วถึงและยุติธรรม ยืนได้ด้วยตัวเองและความรู้ของคนในชาติ เพื่อพัฒนาธุรกิจและอุตสาหกรรมด้าน ICT อย่างเต็มศักยภาพ
เป้าหมายของแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย พัฒนา/ยกระดับทางเศรษฐกิจของประเทศโดยใช้ ICT ยกระดับขีดความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรม ICT ของประเทศ พัฒนาทรัพยากรมนุษย์โดยเพิ่มการประยุกต์ใช้ ICT ในด้านการศึกษา และฝึกอบรม สร้างความเข้มแข็งของชุมชนในชนบทเพื่อการพัฒนาประเทศที่ยั่งยืน
ยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ที่ ๑ การสร้างความเท่าเทียมในการเข้าถึงโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศ ยุทธศาสตร์ที่ ๒ การส่งเสริมให้สาธารณชนมีความรู้ความเข้าใจถึงประโยชน์ของ ICT ยุทธศาสตร์ที่ ๓ การปฏิรูปแนวทางการวิจัยและพัฒนา ICT ยุทธศาสตร์ที่ ๔ การพัฒนาอุตสาหกรรม ICT ยุทธศาสตร์ที่ ๕ การส่งเสริมผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดย่อมใช้ ICT ยุทธศาสตร์ที่ ๖ การนำ ICT มาใช้ประโยชน์ในการบริหารและบริการของภาครัฐ ยุทธศาสตร์ที่ ๗ การใช้ ICT เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มแก่เศรษฐกิจและยกระดับคุณภาพของสังคมไทย ยุทธศาสตร์ที่ ๘ การบริหารจัดการ และการลงทุน ICT อย่างมีประสิทธิภาพ
การบริหารจัดการและการติดตามประเมินผล • การสร้างดัชนีชี้วัด • การจัดทำระบบฐานข้อมูลของดัชนีชี้วัดความสำเร็จของการพัฒนา
จบการนำเสนอ