ภูมิภาคเอเชียใต้ มีรูปร่างเป็นรูปสามเหลี่ยม มีลักษณะเหมือนรวงผึ้งที่มีน้ำผึ้งกำลังหยด ประกอบด้วย 7 ประเทศ โดยตั้งอยู่บนภาคพื้นทวีป 5 ประเทศ คือ อินเดีย ปากีสถาน เนปาล บังกลาเทศ ภูฏาน ภาคพื้นสมุทร 2 ประเทศ คือ ศรีลังกา มัลดีฟส์ มีชนพื้นเมืองที่สืบเชื้อสายมาถึงปัจจุบันคือ พวกดราวิเดียน พวกทมิฬ แต่ถูกชนเผ่าอารยันอพยพเข้ามาปกครองและตั้งถิ่นฐานสืบมาจนถึงปัจจุบัน ซึ่งเส้นทางที่ชนต่างชาติใช้เดินทางเข้ามายังภูมิภาคนี้ เรียกว่า ช่องเขาไคเบอร์
) วรรณะจัณฑาล เป็นชนชั้นต่ำสุด หรือ ไม่มีวรรณะนั่นเอง พวกดราวิเดียน
แม่น้ำคงคาที่ชาวอินเดียเชื่อกันว่าเป็นแม่น้ำศักดิ์สิทธิ์ เกิดจากพระพรหมทรงนำพระเสโทจากบาทพระวิษณุ แม่น้ำสินธุ เชื่อว่าไหลลงมาจากสวรรค์
ที่ตั้งและสภาพภูมิศาสตร์ที่มีผลต่อพัฒนาการ ภูมิภาคเอเชียใต้ เอเชียใต้มีชื่อเรียกกันว่า “ชมพูทวีป” เนื่องจากเป็นถิ่นกำเนิดของศาสนาพุทธ และ พราหมณ์ – ฮินดู หนาวจัดในเขตเทือกเขาหิมาลัย พื้นที่ส่วนใหญ่อยู่ในเขตมรสุมเกิดพายุรุนแรง เช่น พายุไซโคลนที่ก่อตัวในอ่าวเบงกอล พัดเข้าสู่บังคลาเทศ ส่วนปากีสถานและอัฟกานิสถานแห้งแล้งมีทะเลทราย
พัฒนาการด้านต่าง ๆ ของภูมิภาคเอเชียใต้ - ชาวบ้านมีอาชีพตามวรรณะ อาชีพหลัก คือ เกษตรกรรมและช่างฝีมือ - ชาวฮินดูไม่สามารถเดินเรือได้เพราะถือว่าผิดกฎวรรณะ - อังกฤษเข้ามามีอิทธิพล ลงทุนกิจการใบชา ไร่ฝ่าย ไร่ฝิ่น
พัฒนาการด้านต่าง ๆ ของภูมิภาคเอเชียใต้ ประเทศส่วนใหญ่ประสบปัญหาความยากจนและด้อยการศึกษา มีประชากรหลากหลายเชื้อชาติ ศาสนา ภาษา ทำให้เกิดปัญหาความขัดแย้งจนถึงปัจจุบัน เช่น ชาวมุสลิมกับชาวฮินดู รากฐานของสังคมอินเดีย คือระบบวรรณะ เป็นสังคมชนบท ประกอบอาชีพเกษตร