ระบบส่งเสริมการเกษตร(พืช)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร(บูรณาการกระทรวง)
Advertisements

กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ์
แนวทางการบริหารงบประมาณ
นายโอฬาร พิทักษ์ อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
คำสั่งกรมส่งเสริมการเกษตร
ตรวจการสหกรณ์ ปกติ เจ้าภาพ กจส./ กลุ่มส่งเสริม ดำเนินการแล้วอยู่ระหว่างดำเนินการยังไม่ดำเนินการ จัดทำคำสั่งแต่งตั้ง ผู้ตรวจการ 1 ติดตามประเมินผล รวบรวมรายงาน.
สำนักงานเกษตรอำเภอบางแก้ว
S m a r t O f f i c e สำนักงานเกษตรอำเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
MRCF การเชื่อมโยงแนวทางการส่งเสริมการเกษตร
การปรับโครงสร้างการผลิตเป็นแปลงใหญ่
โครงการส่งเสริมการเกษตร ในรูปแบบแปลงใหญ่จังหวัดชัยภูมิ ปี 2558
โครงการเมืองเกษตรสีเขียว ปี 2557
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
โครงการส่งเสริมการหยุดการ เผาในพื้นที่การเกษตร ปี 2559 กองส่งเสริมโครงการพระราชดำริ การจัดการพื้นที่และ วิศวกรรมเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร.
ทิศทางการตลาด และ การ สนับสนุนเกษตร อินทรีย์ โดย น. ส. สุทัศนีย์ ราช เรืองระบิน รองอธิบดี กรมการค้าภายใน.
งบประมาณและความช่วยเหลือ
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
รายงานผลการปฏิบัติงาน เดือนมกราคม 2559
ปัจจัยแห่งความสำเร็จ
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
Design by Agri - Map สำนักงานชลประทานที่ ๘.
สถานการณ์ผลิต พื้นที่ปลูกลดลงทุกปี ความต้องการใช้เพิ่มขึ้น
เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ข้อมูลพื้นฐานเพื่อใช้ในการทำงานตามระบบการส่งเสริมมิติใหม่ (MRCF)
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
โดย นายทรงเกียรติ ตาตะยานนท์ ผู้อำนวยการส่วนจัดการงบประมาณ
ข่าวประชาสัมพันธ์สำนักงานเกษตรจังหวัดสุโขทัย
ผู้ตรวจราชการกรมการพัฒนาชุมชน
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
กลุ่มยุทธศาสตร์ฯ ตัวชี้วัด ของปศุสัตว์อำเภอ รอบที่ ๑/๒๕๖๑ และ รอบที่ ๒/๒๕๖๑ จำนวน ๑๐ ตัวชี้วัด ๑.๑ร้อยละความสำเร็จในการปรับปรุงฐานข้อมูลเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
โครงการลดความเสี่ยงเกษตรกรจากการระบาดศัตรูพืช ปี 2559
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
ณ ห้องประชุมกองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
การสัมมนาแนวทางการดำเนินงาน
แผนขับเคลื่อนการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ 2561
แนวทางการจัดเวทีการขับเคลื่อนการทำงานส่งเสริมการเกษตรในพื้นที่ ปี 2559
โครงการประจำปีงบประมาณ 2559
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตข้าวปลอดภัยและการบริหารจัดการเชิงคุณภาพ
การเตรียมการป้องกันและแก้ปัญหาภัยแล้ง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ยุทธศาสตร์ส่งเสริมการเกษตร
แผนงานบูรณาการพัฒนาการพัฒนาศักยภาพการผลิตภาคเกษตร
หน่วยงานเจ้าภาพหลัก : กษ. (สศก. ) หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง:
การส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ ปี 2560
โครงการพัฒนาเกษตรอินทรีย์
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
โครงการส่งเสริมการบริหารจัดการการเงินชุมชน
โครงการ “9,999 ตามรอยเท้าพ่อ”
การบูรณาการและการบริหาร โครงการส่งเสริมการเกษตรในรูปแบบแปลงใหญ่
ระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้กำหนดให้โครงการเมืองเกษตรสีเขียว (Green Agriculture City) เป็นโครงการสำคัญ (Flagship Project) ของกระทรวงฯ เพื่อสร้างความเข้าใจและแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในแต่ละพื้นที่โดยชู
กิจกรรมส่งเสริมเกษตรทฤษฎีใหม่
แผนที่แสดงอาณาเขตตำบลบ้านหีบ ตำบลบ้านหีบมีพื้นที่ทั้งหมด 8,180 ไร่
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระบบส่งเสริมการเกษตร(พืช) MRCF ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร ระบบส่งเสริมการเกษตร(พืช) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

บทบาทหน้าที่นักส่งเสริมการเกษตร ผู้จัดการการเกษตรในพื้นที่ แนวทางการดำเนินงาน MRCF บทบาทหน้าที่นักส่งเสริมการเกษตร ผู้นำการเปลี่ยนแปลง ผู้จัดการการเกษตรในพื้นที่ ทิศทางการพัฒนา B = K + A ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพ การผลิตสินค้าเกษตร B Behavior K Knowledge A Attitude M Management การส่งเสริมการเกษตรในลักษณะ “แปลงใหญ่” B = K + A + M

ผู้บริหารจัดการในพื้นที่ ผู้นำการเปลี่ยนแปลง นักส่งเสริมการเกษตร Mapping M Remote Sensing R Community Participation C Specific Field Service F MRCF พื้นที่ คน สินค้า

พื้นที่ พื้นที่ทั้งหมด 191,030ไร่ ทำนา 63,709ไร่ ทำไร่ 1,114 ไร่ ป่าไม้ 31,046ไร่ การเกษตร 75,615ไร่ (รับน้ำชลประทาน 69%) ทำนา 63,709ไร่ ทำไร่ 1,114 ไร่ ไม้ผล ไม้ยืนต้น 6,424 ไร่ พืชผัก 346 ไร่ อื่นๆ 4,022 ไร่ พื้นที่ทั้งหมด 191,030 ไร่ ป่าไม้ 31,046 ไร่ พื้นที่การเกษตร 75,615 ไร่ ทำนา 63,709 ไร่ ทำไร่ 1,114 ไร่ ไม้ผล ไม้ยืนต้น 6,424 ไร่ พืชผัก 346 ไร่ อื่นๆ 4,022 ไร่ พื้นที่รับน้ำชลประทาน 52,096 ไร่

พื้นที่ ที่ตั้งและอาณาเขต อำเภอเขาย้อย เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดเพชรบุรี ตั้งอยู่ทางตอนเหนือของจังหวัดมีพื้นที่ทั้งหมด 191,030 ไร่ มีอาณาเขตติดต่อกับอำเภอข้างเคียง ดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับอำเภอปากท่อ จังหวัดราชบุรี ทิศตะวันออก ติดต่อกับ อำเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม และ อำเภอบ้านแหลม ทิศใต้ ติดต่อกับ อำเภอเมืองเพชรบุรี และอำเภอบ้านลาด ทิศตะวันตก ติดต่อกับ อำเภอหนองหญ้าปล้อง

สินค้าเกษตรที่สำคัญ หนองชุมพล สระพัง เขาย้อย ทับคาง หนองปรง หนองชุมพลเหนือ หนองชุมพล สระพัง เขาย้อย ทับคาง หนองปรง ห้วยท่าช้าง หนองปลาไหล บางเค็ม ห้วยโรง ข้าว 1 รวง แทน พื้นที่จำนวน 1,000 ไร่ มะพร้าว 1 ผล แทน พื้นที่จำนวน 100 ไร่ ประมง 1บ่อ แทน พื้นที่จำนวน 100 ไร่ ปลูกข้าว 63,709 ไร่

จุดรับซื้อข้าวในพื้นที่ โรงสี 3 แห่ง จุดรับซื้อข้าวในพื้นที่ โรงสี 3 แห่ง สหกรณ์ 3 แห่ง ท่าข้าว 3 แห่ง

ข้อมูลเกษตรกร Smart farmer ต้นแบบ (ด้านข้าว) ในอำเภอเขาย้อย เกษตรกร 3,459 ครัวเรือน ผ่านการสำรวจ 3,305 Smart Farmer 503 Developing SF 2,802 ชาวนา 2,467 ต้นแบบด้านข้าว 2 Smart Farmer 503 ครัวเรือน เกษตรกร 3,459 ครัวเรือน (ทบก) ชาวนา 2,467 ครัวเรือน (ข้อมูลสำรวจจัหวัด) Smart farmer ต้นแบบ (ด้านข้าว) ในอำเภอเขาย้อย 9

เกษตรกร ทำนา 2,467 ครัวเรือน หนองชุมพลเหนือ ห้วยโรง หนองชุมพล บางเค็ม สระพัง เขาย้อย ทับคาง หนองปลาไหล หนองปรง ทำนา 2,467 ครัวเรือน ห้วยท่าช้าง

ด้านการเกษตรของชุมชน หนองชุมพลเหนือ หนองชุมพล สระพัง เขาย้อย ทับคาง หนองปรง ห้วยท่าช้าง หนองปลาไหล บางเค็ม ห้วยโรง กลุ่ม/องค์กร ด้านการเกษตรของชุมชน วิสาหกิจชุมชน 27 แห่ง แม่บ้านเกษตรกร 8 กลุ่ม ยุวเกษตรกร 7 กลุ่ม กลุ่มส่งเสริมอาชีพ 10 กลุ่ม ศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชน 5 ศูนย์ กลุ่มแม่บ้าน โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว ฯ 2 กลุ่ม

มีการปลูกข้าวจริงบนพื้นที่ Overlay Map Zoning – Land used Rice มีการปลูกข้าวจริงบนพื้นที่ เหมาะสมมาก (S1) 46,600 ไร่ เหมาะสมปานกลาง (S2) 17,150 ไร่ เหมาะสมเล็กน้อย (S3) 10,237 ไร่ ไม่เหมาะสม (N) 3,664ไร่ พื้นที่ ปลูกข้าวทั้งหมดจากโซนนิ่ง 77,651 ไร่ ปี 56 นาปี ปลูก 63,450 ไร่ ต่าง 14,201 พื้นที่ไม่เหมาะส่วนใหญ่ สาพันหกร้อยไร่เศ๋ษ อยู่ท่างตะวันตกของอำเภอ ห้วยท่าช้าง หนองปรง เขาย้อย หนอง

สรุปแนวทางในการพัฒนา พื้นที่เหมาะสม (S1 + S2) (63,750 ไร่) ลดต้นทุน เพิ่มผลผลิต พัฒนาคุณภาพ พื้นที่ไม่เหมาะสม (S3+N) (13,901 ไร่) เปลี่ยนพื้นที่ปลูก ทางเลือกอื่นๆ เช่น พืชอื่น ปศุสัตว์ เศรษฐกิจพอเพียง โอกาสเป็นไปได้ใน n ของอำเภอน่าจะเป็นอะไร โซนตำบลเหล่านั้น ทำการบ้านมา คำถาม

3 ลด 1 เพิ่ม 2 ปฏิบัติ เป้าหมายในการพัฒนา ลดต้นทุนการผลิต (8 บาท ต่อ กก.) เพิ่มผลผลิต (700 กก. ต่อไร่) ลดต้นทุนการผลิต (5,800 บาท ต่อไร่) แนวทางการเพิ่มผลผลิต โอกาส คือ การเปลี่ยนพันธุ์ ต้องคุยกับเกษตรกรในพื้นที่ด้านบนที่น้ำไม่หลาก ส่วนพื้นที่น้ำหลากด้านล่าง ก็ลดต้นทุน หลัก ศก พอเพียง เราผลิตปัจจัยที่ต้องนำเข้า เช่น ทำปุ๋ยใช้เอง 3 ลด 1 เพิ่ม 2 ปฏิบัติ

ใช้การจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้และระดมความคิดเห็น ร่วมกับเกษตรกร ชุมชน และผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง แบบมีส่วนร่วม สิ่งที่เราทำในพื้นที่ เพื่อ วิเคราห์สถานการ์ ทราบปัญหา ประสานภาคี คัดเลือกเกษตรกร หน่วยงานที่เข้าบูรณาการ งบประมาณที่ได้รับ

ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร ปีงบประมาณ 2558

หลักการ - เป็นศูนย์เรียนรู้ของเกษตรกร - เน้นการเรียนรู้จากเกษตรกรต้นแบบที่ประสบความสำเร็จ ซึ่งเกิดจากการส่งเสริมและพัฒนาโดยนักส่งเสริมการเกษตร - วิเคราะห์ข้อมูลของชุมชนที่สอดคล้องกับสถานการณ์ พื้นที่ - คน - สินค้า รวมทั้งข้อมูลศักยภาพการผลิต (zoning) และกำหนดประเด็นการพัฒนาหรือการส่งเสริมเน้นหนัก

หลักการ(ต่อ) - ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอพียง - เน้นการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรและสอดคล้องกับ การวิเคราะห์ข้อมูล zoning และความต้องการของเกษตรกร - เน้นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ตลอดฤดูกาลเพาะปลูก เช่น กระบวนการโรงเรียนเกษตรกร - ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอพียง - ดำเนินการใน 882 อำเภอ

วัตถุประสงค์ - เพื่อพัฒนาศูนย์ฯให้เป็นต้นแบบในการเรียนรู้ - เพื่อให้เกษตรกรได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับเกษตรกรต้นแบบ - เพื่อให้เกษตรกรปรับเปลี่ยนระบบการผลิตให้สามารถพึ่งพาตนเองได้

องค์ประกอบของศูนย์เรียนรู้

แนวทางการดำเนินงาน ทบทวนจุดดำเนินการศูนย์เรียนรู้ฯและเกษตรกรต้นแบบ ปรับปรุงและพัฒนาแปลงเรียนรู้ของเกษตรกรให้มีความพร้อมในการถ่ายทอดความรู้

แนวทางการดำเนินงาน(ต่อ) สำนักงานเกษตรอำเภอ - ร่วมกับเกษตรกรต้นแบบกำหนดหลักสูตรตาม กระบวนการโรงเรียนเกษตรกร และจัดทำแผนการ เรียนรู้ ประสาน สนับสนุนให้เกษตรกรมาเรียนรู้ที่ศูนย์ฯ ตามแผนที่กำหนด บันทึกผลการดำเนินงานในโปรแกรมสารสนเทศ

แนวทางการดำเนินงาน(ต่อ) ส่วนกลาง/เขต/จังหวัด - สนับสนุนการดำเนินงาน - ติดตามผลการดำเนินงาน

(ร่าง) การพัฒนา ระบบส่งเสริมการเกษตร (ด้านพืช) ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 1

หลักการและเหตุผล สถานการณ์การผลิตสินค้าเกษตรมีการเปลี่ยนแปลงรวดเร็วและมีการแข่งขันสูง ทำให้เกษตรกรรายย่อยประสบปัญหาในการผลิตและจำหน่ายผลผลิต เกษตรกรรายย่อย มีโอกาสในการเข้าถึงข้อมูล แหล่งทุน ทรัพยากรและการตลาด ได้น้อย การผลิตในลักษณะรายย่อย ต่างคนต่างผลิต ทำให้ยากต่อการจัดการการผลิต ให้มีประสิทธิภาพและได้ผลผลิตที่มีคุณภาพ สอดคล้องกับความต้องการของตลาด หน่วยงานในพื้นที่ต่างคนต่างปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตรโดยไม่มีเป้าหมายร่วม จึงจำเป็นที่จะต้องมีการปรับระบบส่งเสริมการเกษตรใหม่ เพื่อให้การส่งเสริมการเกษตรเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์สูงสุดแก่เกษตรกร 2

วัตถุประสงค์ 1 เพื่อส่งเสริมให้เกษตรกรรายย่อยมีความเข้มแข็ง มีความสามารถในการผลิตเช่นเดียวกับฟาร์มขนาดใหญ่ 2 เพื่อพัฒนาระบบส่งเสริมการเกษตรของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ให้สอดคล้องกับสถานการณ์และมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น 3

เป้าหมาย พืชเศรษฐกิจ 4 ชนิด ได้แก่ ข้าว ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ มันสำปะหลัง และไม้ผล (ลำไย มะม่วง ทุเรียน มังคุด เงาะ) 1 2 ดำเนินการในพื้นที่นำร่อง 200 แห่ง 4

กลไกการขับเคลื่อนการดำเนินงาน กำหนดแนวทางและกรอบการดำเนินงาน คณะกก.ระดับกระทรวง จำแนกและคัดเลือกพื้นที่ /ชนิดสินค้า คัดเลือกผู้จัดการแปลงการเกษตรในพื้นที่ ติดตามประเมินผล คณะกก.ระดับจังหวัด คัดเลือกและรวมกลุ่มเกษตรกรในพื้นที่ ชี้แจงทำความเข้าใจแนวทางการดำเนินงาน กำหนดเป้าหมายการพัฒนา/แผนปฏิบัติงาน ดำเนินการให้มีการผลิตตามแผนปฏิบัติการ รวมทั้งการจัดการด้านการตลาด ผู้จัดการแปลง 11

ขั้นตอนการดำเนินงานในพื้นที่ เตรียมการ วิเคราะห์ข้อมูล - พื้นที่ - สินค้า - เกษตรกร จำแนกพื้นที่ - เขตจัดรูปที่ดิน - เขตปฏิรูปที่ดิน - นิคมสหกรณ์ - พื้นที่ทั่วไป กำหนดชนิดสินค้า - ข้าว - ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ - มันสำปะหลัง - ไม้ผล (ลำไย มะม่วง ทุเรียน มังคุด เงาะ) เกษตรกรเป้าหมาย ตามพื้นที่และชนิดสินค้า ดำเนินการระดับพื้นที่ คัดเลือกผู้จัดการแปลง จัดฝึกอบรมผู้จัดการ - ลดต้นทุนการผลิต เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต (ปริมาณ/คุณภาพ) แก้ไขปัญหาการผลิตในเรื่องต่างๆ ร่วมกับชุมชนคัดเลือกเกษตรกรและรวมกลุ่ม กำหนดเป้าหมายการพัฒนาแบบมีส่วนร่วม Contract Farming Community Supported Agriculture: CSA Benefit Sharing จัดทำแผนปฏิบัติการ จัดการด้านการตลาด การบริหารจัดการร่วมกับภาคีต่าง ๆ ในเรื่อง เทคโนโลยีที่ใช้ - ปัจจัยการผลิต - วัสดุอุปกรณ์ เครื่องจักรกลการเกษตร - การตลาด ฯลฯ ดำเนินการตามแผน ติดตาม ประเมินผล 10

เขต 9 ชัยภูมิ ข้าว นครราชสีมา ข้าว มันสำปะหลัง ชัยภูมิ ข้าว นครราชสีมา ข้าว มันสำปะหลัง บุรีรัมย์ ข้าว มันสำปะหลัง ยโสธร ข้าว ศรีสะเกษ ข้าว ทุเรียน สุรินทร์ ข้าว อุบลราชธานี ข้าว อำนาจเจริญ ข้าว