สกลนครโมเดล
สกลนครโมเดล สกลนครโมเดล คือ พื้นที่ต้นแบบการดำเนินงานส่งเสริมพัฒนาการ และ IQ/EQ โดยบูรณาการขับเคลื่อนงานแบบภาคีเครือข่าย
ความเป็นมา ปีงบประมาณ 2555 จังหวัดสกลนครได้มีกลไกการขับเคลื่อนนโยบายการพัฒนาสติปัญญาเด็กไทย โดยมีการดำเนินกิจกรรม “ กิน กอด เล่น เล่า ” และจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมความฉลาดทางอารมณ์ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กของแต่ละอำเภอ ผลการประเมิน IQ และ EQ หลังดำเนินกิจกรรมพบว่า ระดับเชาน์ปัญญาของเด็กอายุ 2-6 ปี มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 100.35 ระดับความฉลาดทางอารมณ์มีค่าเฉลี่ยเพิ่มขึ้นจาก 166.57 เป็น 178.75
พื้นที่เป้าหมายการดำเนินงาน ความเป็นมา ปีงบประมาณ 2556 พื้นที่เป้าหมายการดำเนินงาน อำเภออากาศอำนวย
จากข้อมูลพัฒนาการเด็ก อ.อากาศอำนวย จ.สกลนคร ความเป็นมา จากข้อมูลพัฒนาการเด็ก อ.อากาศอำนวย จ.สกลนคร ปีพ.ศ.2556 พบปัญหาดังนี้ เด็กที่มีพัฒนาการไม่สมวัยเข้าถึงระบบบริการร้อยละ 5.23 ระบบบริการยากต่อการเข้าถึง ระบบการส่งต่อยังไม่ชัดเจน
รูปแบบการดูแลพัฒนาการและIQ/EQ ในเขตสุขภาพที่ 8 ทีมงานดำเนินการ ศูนย์สุขภาพจิตที่ 4 โรงพยาบาลจิตเวชเลยราชนครินทร์ โรงพยาบาลจิตเวชนครพนมราชนครินทร์ คณะทำงานพัฒนาระบบบริการ สาขาสุขภาพจิต เขตสุขภาพที่ 8 สกลนคร โมเดล ขับเคลื่อน
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก คุณภาพ สกลนครโมเดล WCC คุณภาพ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก คุณภาพ โรงเรียนประถม คุณภาพ รพช.ดูแลเด็กที่มี พัฒนาการล่าช้าด้วย DSI 300 รพ.สต.ใช้ TDSI70 ดูแลและติดตามเด็กใน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก/ โรงเรียนประถมศึกษา/ ชุมชน - ประเมินเด็กด้วยอนามัย55/EQ - จัดกิจกรรม กิน กอด เล่น เล่า - ส่งต่อเด็กที่มีปัญหาไป รพ. - ส่งต่อแฟ้มประวัติเด็กเมื่อขึ้น ป.1 - คัดกรองเด็กด้วย SDQ/ EQ/4 โรคหลัก จัดกิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิต ในโรงเรียน - ดูแลเด็กป่วยเป็นรายบุคคล และดูแลร่วมกับโรงพยาบาล ภาคีเครือข่าย รพ.สต./ รพช./ สสอ/ สสจ., นายอำเภอ/ อปท. / อสม/พัฒนาสังคม / โรงเรียนประถมศึกษา ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
Best Practice อำเภออากาศอำนวย จังหวัดสกลนคร Well child Clinic ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียน - เด็กที่มีพัฒนาการไม่สมวัย 119 ราย - กระตุ้นด้วย TDSI 70 ไม่ผ่าน 70 ราย - กระตุ้น DSI 300 70 ราย - ส่งต่อโรงพยาบาลศูนย์สกลนคร8 ราย - ฟื้นฟูต่อในชุมชนจำนวน 6 ราย ดำเนินงานครอบคลุมศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ทุกแห่ง ผลลัพธ์ที่ได้พบว่า หลังดำเนินงานเด็กส่วนใหญ่ความฉลาดทางอารมณ์ อยู่ในเกณฑ์ปกติ มีค่าเฉลี่ยเพิ่มขึ้น จาก 48.5 เป็น 50.1 คัดกรองเด็กจำนวน 37 ราย พบเด็กพิเศษ 13 ราย - จัดทำแผนการศึกษาเฉพาะบุคคล - มีระบบส่งต่อคลินิกกระตุ้นพัฒนาการเด็ก
นวัตกรรม/กายอุปกรณ์ ภูมิปัญญาท้องถิ่นสำหรับเด็กในชุมชน
นวัตกรรม/กายอุปกรณ์ ภูมิปัญญาท้องถิ่นสำหรับเด็กในชุมชน
นวัตกรรม/กายอุปกรณ์ ภูมิปัญญาท้องถิ่นสำหรับเด็กในชุมชน
นวัตกรรม/กายอุปกรณ์ ภูมิปัญญาท้องถิ่นสำหรับเด็กในชุมชน
นวัตกรรม/กายอุปกรณ์ ภูมิปัญญาท้องถิ่นสำหรับเด็กในชุมชน
บทบาทนักวิชาการสาธารณสุขในสกลนครโมเดล ร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมประเมินผล 1.ร่วมคิด : ผลักดันให้เกิดสกลนครโมเดล และวางแผนการดำเนินงานแบบบูรณาการโดยภาคีเครือข่าย 2.ร่วมทำ : พัฒนาศักยภาพบุคลากรโดยการจัดอบรม สนับสนุนสื่อดำเนินงาน อุปกรณ์ TDSI/ DSI ถ่ายทอดองค์ความรู้ ทักษะการดำเนินงาน เป็นพี่เลี้ยงให้คำปรึกษาและพัฒนากิจกรรมการดำเนินงานร่วมกับพื้นที่ 3.ร่วมประเมินผล : ติดตาม การดำเนินงาน การใช้เครื่องมือ/แบบประเมิน รูปแบบกิจกรรมใน คลินิกกระตุ้นพัฒนาการ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียนประถมศึกษา ให้ใจ ได้ศรัทธา กลับคืนมาด้วยผลงาน
การต่อยอดและขยายผล 1. ขยายผลสกลนครโมเดลระดับเขตสุขภาพที่ 8 ในทุกจังหวัด 2. เป็นแหล่งเรียนรู้ให้กับพื้นที่อื่นในระดับประเทศ
เกิดเป็นต้นแบบระดับประเทศ ได้รับเกียรติจากท่านรัฐมนตรีกระทรวงสาธารณสุข ศ.นพ.รัชตะ รัชตะนาวิน และคณะ ลงพื้นที่ติดตามผลการดำเนินงาน เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้และศึกษา กระบวนการดำเนินงาน อันจะนำไปสู่การขยายผลในพื้นที่อื่นต่อไป
“ควรนำต้นแบบการดำเนินงานอำเภออากาศอำนวย ไปขยายผลการดำเนินงานในทุกจังหวัด และควรผลิตพยาบาลจิตเวชเด็กเพิ่มให้ครอบคลุมทั้งประเทศ” ศ.นพ.รัชตะ รัชตะนาวิน รัฐมนตรีกระทรวงสาธารณสุข การที่กรมสุขภาพจิตช่วยผลิตพยาบาลจิตเวชเด็กและวัยรุ่นลงสู่พื้นที่ นับเป็นkey success ของงานกลุ่มวัยเด็กในพื้นที่ นพ.สมชาย พรหมจักร ผู้อำนวยการโรงพยาบาลวานรนิวาส
“พื้นที่จะดำเนินงานสำเร็จไม่ได้ หากขาดกรมวิชาการ โดยเฉพาะศูนย์สุขภาพจิตและโรงพยาบาลจิตเวช ที่สนับสนุนการดำเนินการ” นายแพทย์ปรเมษฐ์ กิ่งโก้ นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดสกลนคร
“การที่กรมสุขภาพจิตช่วยผลิตพยาบาลจิตเวชเด็กและวัยรุ่นลงสู่พื้นที่ นับเป็น key success ของกลุ่มวัยเด็กในพื้นที่” นายแพทย์สมชาย พรหมจักร ผู้อำนวยการโรงพยาบาลวานรนิวาส
เกิดนโยบายการดำเนินงานในระดับประเทศ ผลักดันให้เกิดคลินิกเด็กดีคุณภาพ และศูนย์พัฒนาเด็กเล็กคุณภาพ
ขอบคุณค่ะ