Chapter 11 Location Planning

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การผลิตบ่อพัก ทำเอง ใช้เอง หจก. มภัสกาญ คอนสตรัคชั่น
Advertisements

กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ์
บทที่ 1 การรวมธุรกิจ.
บทที่ 3 การบริหารพนักงานขาย
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ (Business Information Systems)
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
LOGO การคำนวณต้นทุนผลผลิต ของปีงบประมาณ 2553 โดย นายธีรชาติ พันธุ์หอม หัวหน้าฝ่ายแผนงานและ งบประมาณด้านก่อสร้าง คณะทำงานต้นทุนผลผลิตสำนัก ชลประทานที่ 11.
โยธาธิการและผังเมืองจังหวัด สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
การบริหารการค้าปลีกและการค้าส่ง
บทที่2 การวางแผนการผลิตและกำลังการผลิต
การพัฒนาโครงการที่อยู่อาศัยในไทย
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
การคลังสุขภาพ การวัดประสิทธิภาพของสถานีอนามัย และเตรียมการถ่ายโอนสถานีอนามัย ให้ท้องถิ่น ดิเรก ปัทมสิริวัฒน์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การประชุมสัมมนา.
Knowledge- Base Systems ระบบสหกรณ์. ที่มาของโครงการ โครงการนี้เกิดจากการรวมกลุ่มของกลุ่มบุคคล เพื่อดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ซึ่งก่อให้เกิด ประโยชน์ต่อความต้องการและเป้าหมายของ.
สถาบันด้านปัจจัยการ ผลิตทางการเษตร ( ตลาดแรงงาน ) ศ.491 การวิเคราะห์การผลิต และนโยบายการผลิตสินค้าเกษตร รศ. ภราดร ปรีดาศักดิ์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ทิศทางการตลาด และ การ สนับสนุนเกษตร อินทรีย์ โดย น. ส. สุทัศนีย์ ราช เรืองระบิน รองอธิบดี กรมการค้าภายใน.
Project Management by Gantt Chart & PERT Diagram
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
บทที่ 3 องค์ประกอบของการสัมมนา
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
รายชื่อกลุ่ม 1.น.ส.อริศรา มีตัน ปวส. 2/6 รหัส น.ส.พรพรรณ หมอนสวัสดิ์ ปวส. 2/6 รหัส น.ส.ศลัญญากรณ์ ศิลป์มณีโชค ปวส. 2/6 รหัส
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
บทที่ 6 ต้นทุนการผลิตและรายรับจากการผลิต
การบัญชีต้นทุนช่วง (Process Costing).
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
Factors Markets of Resource Markets ตลาดปัจจัยการผลิต
1. การสอบกลางภาค วันที่ 6 ตุลาคม เวลา น. เก็บ 40 % 2
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
การวิเคราะห์ ต้นทุน ปริมาณ กำไร
เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
บทที่ 5 การวางแผนทางการเงิน ผศ. อรทัย รัตนานนท์ รศ.อรุณรุ่ง วงศ์กังวาน.
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
ระบบเศรษฐกิจ.
เรื่อง ศึกษาตัวกลางที่เหมาะสมกับการชุบแข็งของเหล็กกล้าคาร์บอน
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
ยินดีต้อนรับ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน (พลเอก สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์) และคณะ ในโอกาสตรวจเยี่ยมจังหวัดตาก วันที่ กรกฎาคม 2558.
การจัดลำดับความสำคัญของโครงการด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
1.
กลุ่มเกษตรกร.
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
รูปแบบ และ ประโยชน์การขายสินค้าออนไลน์
SMS News Distribute Service
บทที่ 3 การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ ต้นทุน-ปริมาณ-กำไร
บทที่ 4 หลักทฤษฎีและปฏิบัติการธุรกิจ ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ
การปรับปรุงพื้นที่ทุรกันดาร 2559 นายแพทย์สงกรานต์ ไหมชุม
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
ภูมิศาสตร์การท่องเที่ยว
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
ISO ย่อมาจาก International Organization for Standardization คือ องค์การมาตรฐานสากล หรือองค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน เป็นองค์กรที่ออกมาตรฐานต่างๆ.
ตัวแบบมาร์คอฟ (Markov Model)
การวางแผนกำลังการผลิต
นโยบายของรัฐด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม สมุดปกขาว BCG in Action การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมของประเทศไทย เพื่อเศรษฐกิจชีวภาพ.
Supply Chain Management
อ.ชิดชม กันจุฬา (ผู้สอน)
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
อ. อรนพัฒน์ เหมือนเผ่าพงษ์ สาขาวิชาการจัดการโรงแรมและธุรกิจที่พัก
การขายและการตลาดสำหรับธุรกิจโรงแรมและที่พัก
โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
กำหนดการเชิงเส้น : การแก้ปัญหาด้วยวิธีกราฟ
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
บทที่ 7 การบัญชีภาษีมูลค่าเพิ่ม
แบบฟอร์มที่ 2ลักษณะสำคัญขององค์การ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Chapter 11 Location Planning Aj-Kulachatr C. Na Ayudhya Naresuan University Payao Campus Semester 1/50

Location Planning for Oil & Gas Supply chain

การวางแผนทำเลที่ตั้ง (Location Planning) หลักการสำคัญในการเลือกทำเลที่ตั้ง คลังสินค้าหรือโรงงานใน Supply Chain ขององค์กรหนึ่งๆ เป็นกิจกรรมที่สำคัญที่มีการลงทุนค่อนข้างสูง เป็นกิจกรรมการพักสินค้าและแปรรูปสินค้า ซึ่งมีผลต่อระยะทางในการเดินทางในระบบโลจิสติกส์เป็นอย่างยิ่ง หากการเลือกทำเลที่ตั้งไม่เหมาะสมจะส่งผลต่อต้นทุนค่าขนส่งในระยะยาว ดังนั้นการวางแผนทำเลที่ตั้งโรงงานหรือคลังสินค้าให้สอดคล้องกับความจำเป็นและต้นทุนค่าขนส่ง จำเป็นต้องมีการวางแผนตั้งแต่แรกเริ่มในการสร้างองค์กร ผู้บริหารโลจิสติกส์จึงต้องมีวิสัยทัศน์และสามารถพยากรณ์ระยะยาวได้ ธุรกิจที่ดำเนินการผลิตส่วนใหญ่ มักจะอยู่ใกล้แหล่งวัตถุดิบ และสาธารณูปโภคที่จำเป็นต่อการผลิต สินค้าที่ผลิตได้ส่วนใหญ่ จะฝากขายผ่านระบบคนกลางทางการตลาด จึงไม่จำเป็นที่โรงงานต้องอยู่ใกล้ตลาดหรือลูกค้า เช่น คลังน้ำมัน แต่ธุรกิจบริการที่จำเป็นต้องให้บริการดูแลเอาใจใส่ลูกค้าอย่างใกล้ชิด จำเป็นต้องอยู่ใกล้ลูกค้า หรือย่านชุมชนที่ลูกค้าสะดวกในการเข้าไปใช้บริการ เช่น ร้านค้าปลีก สปา

Location Planning for Store Retailing

Location Planning ปัจจัยในการเลือกทำเลที่ตั้ง การคมนาคมขนส่ง : ถนน บริการทางคมนาคม รถไฟ เรือ เครื่องบิน ระบบการขนส่งต่างประเทศ สะดวกสบาย ปัจจัยการผลิต : วัตถุดิบ : มีวัตถุดิบที่เพียงพอ น้ำหนัก ปริมาณ ที่เหมาะสมต่อการเคลื่อนย้าย แรงงาน : มีแรงงานที่มีฝีมือเพียงพอต่อการจ้างงาน ค่าก่อสร้าง : ค่าแรงและวัสดุก่อสร้างไม่แพงและเพียงพอ ค่าใช้จ่ายในการจัดหาจัดซื้อ : ต่ำ ราคาที่ดิน : ราคาต่ำและคุ้มต่อการคืนทุน ตลาด : ลูกค้า ชุมชน และแหล่งจำหน่ายสินค้าเพียงพอ สาธารณูปโภค : น้ำประปา ไฟฟ้า โทรศัพท์ ระบบบำบัดครบครัน สิริกาญจน์ ปองทอง , 2547

Location Planning ปัจจัยในการเลือกทำเลที่ตั้ง การบริการทางสังคม : มีสถานีตำรวจ ดับเพลิง เทศบาลโรงพยาบาล โรงเรียน ครบถ้วน สิ่งแวดล้อม : ภูมิอากาศดี มลภาวะน้อย ความชื้นเหมาะสม ไม่มีแสง เสียงรบกวน กฎหมาย : ภาษีที่ดิน ภาษีโรงเรือน ภาษีป้าย ภาษีบำรุงท้องที่ ภาษีการค้า ค่าเบี้ยประกันต่างๆ เหมาะสม ทัศนคติของชุมชน : ทัศนคติของชุมชนที่ล้อมรอบทำเลที่ตั้งโรงงานต้องสนับสนุนต่อการสร้างโรงงาน คู่แข่งขัน : ควรมีความร่วมมือกันระหว่างคู่แข่งในทางที่ดี มีโอกาสความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของท้องถิ่นนั้นในอนาคต สิริกาญจน์ ปองทอง , 2547

Location Planning ขั้นตอนการตัดสินใจเลือกทำเลที่ตั้ง การศึกษาปัจจัย การวิเคราะห์ทางเลือก เทคนิคการวิเคราะห์เชิงคุณภาพ เทคนิคการวิเคราะห์เชิงปริมาณ ไม่เลือก การตัดสินใจ เลือก ลงทุนก่อสร้าง

การตัดสินใจเลือกทำเลที่ตั้ง การเลือกทำเลที่ตั้งธุรกิจผลิตสินค้า (โรงงานหรือคลังสินค้า) ใกล้แหล่งวัตถุดิบ ใกล้แรงงาน ชุมชนยอมรับ เส้นทางการคมนาคมดี สาธารณูปโภคเพื่อการผลิตครบ คุณภาพและมาตรฐานการดำรงชีวิตต้องดี สิริกาญจน์ ปองทอง , 2547 การเลือกทำเลที่ตั้งธุรกิจบริการและการจำหน่าย (ค้าส่งค้าปลีก) ใกล้ลูกค้า ค่าขนส่ง (สินค้ามีการกระจายตัวสูง จึงมีค่าขนส่งสูง) เส้นทางการคมนาคมเพียงพอและเข้าถึงเป้าหมาย คู่แข่งขัน เลี่ยงใกล้รายใหญ่ รวมกลุ่มกับรายย่อย (Market Place)

เครื่องมือช่วยตัดสินใจเลือกทำเลที่ตั้ง เชิงคุณภาพ Factor Rating Method เชิงปริมาณ Load-distance Technique Cost Comparison Break-even Analysis Transportation model

Factor Rating Method รวม ลำดับ ปัจจัย Score ทำเล 1 ทำเล2 ทำเล3 1 แหล่งวัตถุดิบ 400 250 80 2 ชุมชน 350 150 170 200 3 แหล่งแรงงาน 300 4 การขนส่งสะดวก 240 5 สาธารณูปโภค 190 6 การบำบัดของเสีย 50 100 7 สิ่งแวดล้อม 90 120 รวม 2000 1390 1300 1090

Load-distance Technique ขั้นที่ 1 เทคนิคการหาระยะทางร่วมกับค่าขนส่ง เป็นวิธีการเลือกทำเลที่ตั้งที่เหมาะสมเพียงแห่งเดียวจากหลายทำเลที่เสนอขึ้นมาเป็นทางเลือกตั้งแต่ 2 ทำเลขึ้นไป โดยการคำนวณหาระยะห่างของแต่ละทำเลกับแหล่งวัตถุดิบหรือตลาด แล้วคูณระยะทางเหล่านั้นเข้ากับค่าใช้จ่ายในการขนส่ง โดยใช้หลักการวัดเป็นเส้นตรง การหาระยะทางระหว่างทำเลที่ตั้งกับเป้าหมาย : ใช้หลักการวัดระยะทางเส้นตรงด้วยกฎ สามเหลี่ยมของพิธากอรัส N กับ M ห่างกันเท่าไร C2 = A2 + B2 C2 = 32 + 42 = 25 C = 5 M C2 = A2+B2 A=3 N B=4

Pythagoras                        The square on the hypotenuse is equal to the sum of the squares on the other two sides. If we let c be the length of the hypotenuse and a and b be the lengths of the other two sides, the theorem can be expressed as the equation a2 + b2 = c2

Load-distance (LD) Technique ขั้นที่ 2 คำนวณระยะทางร่วมที่ได้ทั้งสองทำเล เข้ากับค่าขนส่งต่อระยะทาง LD =  li x di โดยที่ Ii = อัตราค่าขนส่งต่อระยะทางหรือจำนวนเที่ยวหรือจำนวนหน่วยสินค้า Di = ระยะทางระหว่างทำเลในแต่ละแหล่ง ขั้นที่ 3 เลือกทำเลที่ตั้งที่มีค่า LD รวมต่ำที่สุด ตัวอย่าง เทคนิคการหาระยะทางร่วมกับค่าขนส่ง ระหว่างทำเล X กับ Y ควรเลือกทำเลใด โดยสมมติว่าค่าขนส่งสินค้า 6 บาท วัตถุดิบ 5 บาท (ต่อกิโลเมตร) n i=1

Load-distance Technique ; Demand 8 7 6 5 4 3 2 1 9 10 ก ข X 4 A B 4 Y C ค

ขั้นที่ 1 คำนวณ Load-distance ; Demand สมมติว่าค่าขนส่งสินค้า 6 บาท (ต่อกิโลเมตร) การคำนวณหาระยะห่างระหว่างที่ดินกับตลาด (Demand) ของ X พิกัด X – ก มีระยะทางเท่ากับ = SQRT(52 + 22) = 5.39 km พิกัด X – ข มีระยะทางเท่ากับ = SQRT(22 + 22) = 2.83 km พิกัด X – ค มีระยะทางเท่ากับ = SQRT(42 + 42) = 5.66 km ทำเล X มีระยะทางที่ต้องใช้เดินทางไปตลาดทั้งหมด = 13.82 km การคำนวณหาระยะห่างระหว่างที่ดินกับตลาด (Demand) ของ Y พิกัด Y – ก มีระยะทางเท่ากับ = SQRT(32 + 52) = 5.83 km พิกัด Y – ข มีระยะทางเท่ากับ = SQRT(42 + 52) = 6.40 km พิกัด Y – ค มีระยะทางเท่ากับ = SQRT(22 + 12) = 2.24 km ทำเล Y มีระยะทางที่ต้องใช้เดินทางไปตลาดทั้งหมด = 14.47 km

Load-distance Technique ; Supply ABC = Supply , (หน่วย ; กิโลเมตร) 8 7 6 5 4 3 2 1 9 10 ก ข X A B Y C ค

ขั้นที่ 1 คำนวณ Load-distance ; Supply สมมติว่าค่าขนส่งวัตถุดิบ 5 บาท (ต่อกิโลเมตร) การคำนวณหาระยะห่างระหว่างที่ดินกับแหล่งวัตถุดิบ (Supply) ของ X พิกัด X - A มีระยะทางเท่ากับ = SQRT(42 + 12) = 4.12 km พิกัด X - B มีระยะทางเท่ากับ = SQRT(32 + 22) = 3.61 km พิกัด X - C มีระยะทางเท่ากับ = SQRT(02 + 32) = 3.00 km ทำเล X มีระยะทางที่ต้องใช้เดินทางจากแหล่งวัตถุดิบทั้งหมด = 10.73 km การคำนวณหาระยะห่างระหว่างที่ดินกับแหล่งวัตถุดิบ (Supply) ของ Y พิกัด Y - A มีระยะทางเท่ากับ = SQRT(22 + 22) = 2.83 km พิกัด Y - B มีระยะทางเท่ากับ = SQRT(52 + 12) = 5.10 km พิกัด Y - C มีระยะทางเท่ากับ = SQRT(22 + 02) = 2.00 km ทำเล Y มีระยะทางที่ต้องใช้เดินทางจากแหล่งวัตถุดิบทั้งหมด = 9.93 km

ขั้นที่ 2 คำนวณระยะทางร่วมที่ได้ทั้งสองทำเล เข้ากับค่าขนส่งต่อระยะทาง LDx = [X ไปตลาด x 6] + [X ไปวัตถุดิบ x 5] (13.82 x 6) + (10.73 x 5) 136.57 บาท LDy = [Y ไปตลาด x 6] + [Y ไปวัตถุดิบ x 5] (14.47 x 6) + (9.93 x 5) 136.47 บาท ขั้นที่ 3 เลือกคำตอบที่ค่าขนส่งต่ำกว่า คำตอบ คือ เลือกทำเล Y ให้ค่าขนส่งตามระยะทางต่ำกว่า X

Cost Comparison TC = TFC + TVC TVC = VC(Q) TC = TFC + VC(Q)

ตัวอย่าง : การประเมินและเปรียบเทียบต้นทุนรวม(Cost Comparison) เมือง B มีต้นทุนคงที่ 2.5 ล้านบาท ต้นทุนผันแปร 45 บาท/หน่วย เมือง C มีต้นทุนคงที่ 1.1 ล้านบาท ต้นทุนผันแปร 200 บาท/หน่วย ถ้าบริษัทนี้พยากรณ์ได้ว่าจะมีกำลังการผลิตปีละ 10,000 หน่วย บริษัทแห่งนี้ควรเลือกทำเลใดในการตั้งโรงงานจึงจะมีต้นทุนต่ำที่สุด Location TFC VC Q TC A 2,000,000 100 10,000 3,000,000 B 2,500,000 45 2,950,000 C 1,100,000 200 3,100,000 ทดลองใช้ MS-Excel ในการสร้างสมการหรือสูตรเพื่อการคำนวณ และหาคำตอบ

Location Planning ตัวอย่าง : การประเมินและเปรียบเทียบต้นทุนรวม (Cost Comparison) บริษัท 3B จำกัด กำลังพิจารณาเลือกทำเลที่ตั้ง มี 3 ทำเลให้เลือกดังนี้ เมือง A มีต้นทุนคงที่ 1.0 ล้านบาท ต้นทุนผันแปร 200 บาท/หน่วย เมือง B มีต้นทุนคงที่ 2.5 ล้านบาท ต้นทุนผันแปร 80 บาท/หน่วย เมือง C มีต้นทุนคงที่ 1.3 ล้านบาท ต้นทุนผันแปร 160 บาท/หน่วย ถ้าบริษัทนี้พยากรณ์ได้ว่าจะมีกำลังการผลิตปีละ 15,000-20,000 หน่วย บริษัทแห่งนี้ควรเลือกทำเลใดในการตั้งโรงงานจึงจะมีต้นทุนต่ำที่สุด Location TFC (ล้านบาท) VC Q (ค่าต่างๆ) หน่วย TC = TFC+VC(Q) Q1 Q2 Q3 A 1 200 10000 20000 30000 B 2.5 80 C 1.3 160 ทดลองใช้ MS-Excel ในการสร้างสมการหรือสูตรเพื่อการคำนวณ และหาคำตอบ

Location TC = TFC+VC(Qi) Q1 Q2 Q3 A B C

Break-even Analysis การวิเคราะห์จุดคุ้มทุน เพื่อเลือกทำเลที่ตั้ง สามารถใช้ข้อมูลเกี่ยวกับการประเมิน เช่น ค่าที่ดิน ค่าแรง ค่าโสหุ้ยในการผลิต ค่าน้ำ ค่าไฟฟ้าต่างๆ มาทำการวิเคราะห์เพื่อหาจุดคุ้มทุนที่ต่ำที่สุด ได้ว่าทำเลใดมีการเข้าใกล้จุดคุ้มทุนเร็วที่สุด ทำเลนั้นจะเป็นทำเลที่เหมาะสมต่อการพิจารณาเลือกทำเลที่ตั้ง

Break-even point analysis การวิเคราะห์จุดคุ้มทุน TR = TC P(Q) = TFC + VC(Q) P(Q) – VC(Q) = TFC Q (P-VC) = TFC Q = TFC (P-VC) TC = ต้นทุนการผลิตรวม TFC = ต้นทุนคงที่รวม TVC = ต้นทุนผันแปรรวม VC = ต้นทุนแปรผันต่อหน่วย Q = จำนวนสินค้าที่จะผลิตTC = TFC + VC(Q) TR = รายได้รวม TR = P x Q P = ราคาขายต่อหน่วย

Volume BEP Unit BEP

Break Even Point Analysis ตัวอย่าง การวิเคราะห์จุดคุ้มทุน เพื่อเลือกทำเลที่ตั้ง ผู้บริหารธุรกิจแห่งหนึ่งกำหนดราคาขายสินค้าไว้ที่หน่วยละ 10 บาท กำลังพิจารณาเลือกทำเลที่ตั้งโรงงานแห่งใหม่โดยมีข้อมูลต้นทุนดังนี้ Location ราคาที่ดิน (บาท) VC Q = TFC P- VC A 400000 8 B 500000 4 C 600000 5 ทดลองใช้ MS-Excel ในการสร้างสมการหรือสูตรเพื่อการคำนวณ และหาคำตอบ

Transportation model การเลือกทำเลที่ตั้งโดยเปรียบเทียบค่าขนส่งรวมด้วย ตัวแบบการขนส่งเป็นเทคนิคการคำนวณในลักษณะของโปรแกรมเส้นตรง (Linear Programming) ที่ใช้คำนวณหาต้นทุนค่าขนส่งรวมต่ำสุด (Minimizing cost) สำหรับการกระจายสินค้าของโรงงานที่มีสถานที่ผลิตหลายแห่งและมีสถานที่ส่งสินค้าหลายแห่ง โดยที่ค่าขนส่งของแต่ละเส้นทางขนส่งมีค่าไม่เท่ากัน (ขึ้นกับระยะทางที่ห่างกัน) ดังนั้นโรงงานจะสามารถทราบได้ว่าควรจะกระจายสินค้าด้วยเส้นทางใดจึงจะได้ค่าขนส่งรวมต่ำที่สุด จึงสามารถนำไปประยุกต์ใช้วิเคราะห์ทางเลือกเพื่อการตัดสินใจเลือกทำเลที่ตั้งโรงงานได้เป็นอย่างดี Demand ปลายทาง Supply ต้นทาง

Transportation โรงงาน1 ร้านค้าปลีก โรงงาน2 ตัวแทนจำหน่าย พ่อค้าส่ง โรงงาน3 โรงงาน4 โรงงาน5 ร้านค้าปลีก ตัวแทนจำหน่าย พ่อค้าส่ง ลูกค้า เส้นทางการขนส่งแต่ละเส้นมีระยะทางไม่เท่ากัน จึงมีค่าขนส่งแตกต่างกันตามระยะทาง

Transportation Model ขั้นตอนการคำนวณหาต้นทุนค่าขนส่งรวมต่ำสุดด้วยตัวแบบการขนส่งและใช้ Microsoft Excel ในการ Solution เพื่อหาคำตอบ หาผลรวมสินค้าของแหล่งผลิต (Supply) และแหล่งรับสินค้า (Demand) สร้างตารางเมตริกซ์ (Matrix Square) สร้างแถวนอน (Row) = จำนวนโรงงานหรือแหล่งผลิตสินค้า (Supply) สร้างแถวตั้ง (Column) = จำนวนแหล่งที่จะรับสินค้า (Demand) เมื่อนำแถวนอนกับแถวตั้งมารวมกันจะได้ Matrix Square โดยจะเกิดช่องที่เกิดจากการตัดกันของ Row / Column เรียกว่า Cell ถ้าเกิดจากการตัดกันของ Row ที่ 1 กับ Column ที่ 2 เรียก Cell นั้นว่า C12 กำหนดค่าขนส่งในแต่ละเส้นทาง และระบุลงไปใน Matrix สร้าง Matrix Square ลงใน Spread Sheet (Excel) ต้องเป็น Version ที่มี Solver Parameter adds-in หรือใช้โปรแกรม QM for Window

Transportation Model ; Matrix ตัวอย่างการบันทึกข้อมูลลงเมทริกซ์ บริษัทแห่งหนึ่งมีโรงงานผลิตสินค้าอยู่ 3 แห่ง แห่งละ 500 ,600 และ 400 หน่วย ตามลำดับ โดยมีเอเย่นต์อยู่ 4 ราย แต่ละรายรับสินค้าได้จำกัดจำนวน คือ 260 , 380 , 490 และ 370 หน่วย ตามลำดับ เขียนเป็นแผนภาพและระบุค่าขนส่งได้ดังนี้ 2 26 5 8 1 50 6 38 7 4 60 17 49 10 18 5 40 37 3 ค่าขนส่ง : บาทต่อหน่วยสินค้า 7

Transportation Model ; Matrix = 8610 Agent1 Agent2 Agent3 Agent4 Supply โรงงาน1 2 6 17 5 500 โรงงาน2 7 10 3 600 โรงงาน3 8 4 18 400 Demand 260 380 490 370 1500

Industrial Estate นิคมอุตสาหกรรม คือแหล่งทำเลที่ตั้งซึ่งรวมโรงงานอุตสาหกรรมหลากหลายชนิดไว้ในที่ๆ เดียวกัน โดยมีการจัดระเบียบการใช้พื้นที่และจัดสรรสาธารณูปโภคที่จำเป็น มีการอำนวยความสะดวกด้านการขนส่ง เพื่อให้เกิดการใช้ทรัพยากรต่างๆ ที่มีอยู่อย่างจำกัดร่วมกัน ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด ตลอดจนเป็นการควบคุมมลพิษ และไม่รบกวนมาตรฐานการดำรงชีวิตของชุมชน นิคมอุตสาหกรรมส่วนมากจะอยู่ในพื้นที่ห่างไกลชุมชน แต่ใกล้แหล่งวัตถุดิบและกระบวนการขนส่ง เช่น ท่าเรือ ทะเล ท่าอากาศยาน รัฐบาลได้มีการจัดตั้ง การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (กนอ.) ซึ่งเป็นรัฐวิสาหกิจ สังกัดกระทรางอุตสาหกรรม เริ่มต้นเมื่อ พ.ศ. 2517

Port (ท่าเทียบเรืออุตสาหกรรม) ท่าเรือสาธารณะ (Public Terminal - PT) ท่าเรือสาธารณะ (Public Terminal - PT) เป็นท่าเรือที่ไม่จำกัดจำนวนผู้ที่ใช้บริการ ท่าเรือประเภทนี้ กนอ. ลงทุนก่อสร้าง สิ่งอำนวยความสะดวกพื้นฐานให้ ทั้งท่าเทียบเรือ โกดังสินค้า พื้นที่หน้าท่า และอุปกรณ์หน้าท่า ท่าเรือเฉพาะกิจ (Dedicated Terminal - DT) เป็นท่าเรือที่จำกัดผู้ที่เข้ามาใช้บริการ เฉพาะให้กลุ่มของผู้ประกอบการ ท่าเรือเฉพาะกิจ (Dedicated Terminal - DT)

บรรณานุกรม คำนาย อภิปรัชญาสกุล. โลจิสติกส์และการจัดการซัพพลายเชน “กลยุทธ์ทำให้รวยช่วยประหยัด”,--กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์นัฎพร, 2546. สิริกาญจน์ ปองทอง. เอกสารประกอบการสอน วิชาการจัดการการผลิตและการ ----ดำเนินงาน. -- เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัยพายัพ , 2547.