บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน Computer-Assisted Instruction ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข prachyanun@hotmail.com http://www.prachyanun.com
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer Assisted Instruction : CAI) เป็นกระบวนการเรียนการสอน โดยใช้สื่อคอมพิวเตอร์ ในการนำเสนอเนื้อหาเรื่องราวต่างๆ มีลักษณะเป็นการเรียนโดยตรง และเป็นการเรียน แบบมีปฏิสัมพันธ์ (Interactive) คือสามารถโต้ตอบระหว่างผู้เรียนกับคอมพิวเตอร์ได้
คอมพิวเตอร์ช่วยสอนคืออะไร รศ.ยืน ภู่วรวรรณ: โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ได้นำเนื้อหาวิชาและลำดับวิธีการสอนมาบันทึกเก็บไว้ คอมพิวเตอร์จะช่วยนำบทเรียนที่เตรียมไว้อย่างเป็นระบบ มาเสนอในรูปแบบที่เหมาะสมสำหรับนักเรียนแต่ละคน ดร.สุกรี รอดโพธิ์ทอง: โปรแกรมคอมพิวเตอร์หลายๆรูปแบบ ที่พัฒนาขึ้นเพื่อช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการสอนและการรับรู้ของผู้เรียน สารานุกรมศัพท์การศึกษาและจิตวิทยา สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา ม.สุโขทัยธรรมาธิราช: การนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในระบบการเรียนการสอนวิชาต่างๆ เช่น วิชาสังคม ศิลป วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ภาษาไทย ภาษาต่างประเทศ รวมทั้งวิชาคอมพิวเตอร์ โดยถือว่า คอมพิวเตอร์เป็นสื่อในระบบการเรียนการสอนที่สามารถให้ผู้เรียนรู้ผลการตอบสนองได้รวดเร็วกว่าสื่อประเภทอื่น ยกเว้นสื่อบุคคล
อะไรคือคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เป็นบทเรียนคอมพิวเตอร์สำหรับใช้ในการเรียนการสอน เป็นโปรแกรมสำหรับให้เรียนรู้ได้ด้วยตนเอง เป็นบทเรียนที่มีการออกแบบอย่างเป็นระบบ เป็นโปรแกรมที่มีกระบวนการเรียนการสอนครบถ้วน เป็นบทเรียนที่ใช้สอนแทนครูได้/หรือใช้สอนเสริม เป็นโปรแกรมที่มีปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนกับโปรแกรม
แนวคิดการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน บทเรียนโปรแกรม (Programmed Instruction) พฤติกรรมนิยม (Behaviorism) เสนอสิ่งเร้าให้กับผู้เรียน ได้แก่ เนื้อหา ภาพนิ่ง คำถาม ภาพเคลื่อนไหว ประเมินการตอบสนองของผู้เรียน ได้แก่ การตัดสินคำตอบ ให้ข้อมูลย้อนกลับเพื่อการเสริมแรง ได้แก่ การให้รางวัล หรือ คะแนน ให้ผู้เรียนเลือกสิ่งเร้าในลำดับต่อไปและเลือกเนื้อหาที่เรียนได้
CAI/CBI/CBT CAI : Computer-Assisted Instruction CBI : Computer-Based Instruction CBL : Computer-Based Learning CBT : Computer-Based Training CMI : Computer Management Instruction CBE : Computer-Based Education IMCAI : Interactive Multimedia CAI
ประเภทของคอมพิวเตอร์ช่วยสอน Tutorial Drill and Practice Simulation Instructional Game Problem-Solving Instruction Test Discovery
ลักษณะบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน แบบเชิงเส้น (CAI Linear Programming) แบบแยกสาขา (CAI Branch Programming) บทนำ บทนำ บทที่ 1 บทที่ 1 บทที่ 2 บทที่ 3 บทที่ 2 บทที่ 3
คุณลักษณะความเป็น CAI Information : ข้อมูลเนื้อหามีสาระสำคัญ Individual : สนองความแตกต่างระหว่างบุคคล Interactive : การมีปฏิสัมพันธ์กับผู้ใช้ Immediate : ตอบสนองและป้อนกลับได้ทันที 1. สารสนเทศ (Information) หมายถึง เนื้อหาสาระ(Content) ตามจุดประสงค์ของ หลักสูตร 2. ความแตกต่างระหว่างบุคคล (Individualization) เพื่อตอบสนองการสอนรายบุคคล เนื่องจากผู้เรียนมีพื้นฐานความรู้ ที่แตกต่างกัน ดังนั้นผู้เรียนจึงมีอิสระในการเลือกรูปแบบ การเรียน ที่เหมาะสมและควบคุมการเรียนของตนเอง ซึ่งมีลักษณะที่สำคัญ ได้แก่ การควบคุมเนื้อหา ลำดับของการเรียน การฝึกปฏิบัติหรือการทดสอบ 3. การโต้ตอบ (Interaction) หมายถึง การเปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์ กับคอมพิวเตอร์ 4. การให้ผลย้อนกลับโดยทันที (Immediate Feedback) ผลย้อนกลับหรือคำตอบนี้ถือเป็นการเสริมแรง (reinforcement) อย่างหนึ่ง ซึ่งความสามารถนี้ถือได้ว่าเป็นจุดเด่นหรือข้อได้เปรียบ ประการสำคัญของ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน
ความเป็นสื่อการสอนของคอมพิวเตอร์ช่วยสอน สื่อหลัก CAI สร้างขึ้นมาสอนแทนอาจารย์ได้อย่างสมบูรณ์ทั้งระบบมีขั้นตอนและกระบวนการที่ครอบคลุมทั้งหลักสูตร สื่อเสริม CAI ประกอบการสอนของอาจารย์ สร้างขึ้นเพื่อช่วยในการสอน เช่น การนำเสนอ การทบทวน การสอนเสริม
ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ดึงดูดความสนใจในการเรียน/เร้าความสนใจในการสอน ช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้อย่างรวดเร็ว ผู้เรียนมีโอกาสโต้ตอบกับบทเรียน กำหนดระยะเวลาและความเร็วในการเรียนรู้ด้วยตนเอง ผู้เรียนสามารถเรียนได้ตามความสะดวกทุกเวลาและเรียนซ้ำได้ ประหยัดเวลา งบประมาณ นักเรียนทุกคนได้เรียนในเนื้อหาเดียวกัน ผู้เรียนจำเนื้อหาได้ง่าย จำได้นาน ผู้สอนมีเวลามากขึ้นในการพัฒนาการสอน ฯลฯ
ปัญหาของคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ค่าใช้จ่ายในการผลิตสูงและต้องใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ประกอบในการเรียน การผลิตใช้เวลานานและมีขั้นตอนที่ยุ่งยาก ต้องมีบุคคลหลายฝ่ายช่วยในการผลิต การขาดประสิทธิภาพในการเรียนรู้ การละเมิดลิขสิทธิ์ทางปัญญา ผู้ผลิตถูกคัดลอกผลงานทำให้ไม่มีแรงจูงใจในการผลิต เนื้อหาคัดลอกจากตำราโดยไม่ได้รับอนุญาต
ผู้เกี่ยวข้องในการสร้าง CAI ผู้เชี่ยวชาญ ผู้เชี่ยวชาญเนื้อหา >> ครูผู้สอน นักวิชาการ ผู้เชี่ยวชาญการสอน >> ครูผู้สอน ผู้เชี่ยวชาญสื่อ >> นักเทคโนโลยีการศึกษา ผู้เชี่ยวชาญโปรแกรม >> โปรแกรมเมอร์ ผู้ออกแบบและพัฒนา ผู้วิเคราะห์และออกแบบระบบ วัดผลประเมินผล ทดสอบการทำงาน ผู้บริหารโครงการ ผู้บริหารจัดการด้านการเงิน การจัดหาอุปกรณ์ การประสานงานผลิต
เครื่องมือในการสร้าง CAI ภาษาโปรแกรมระดับสูง (high-level languages) เช่น BASIC, Pascal, Logo และ C ภาษานิพนธ์บทเรียน (authoring languages) เช่น Coursewriter, Pilot และ Tutor ระบบนิพนธ์บทเรียน (authoring systems) เช่น PHOENIX, DECAL, Icon-Author, InfoWindow, LS1, SOCRATIC และ Authorware เครื่องช่วยนิพนธ์บทเรียน (authoring utilities) ซึ่งแบ่งออกได้อีกหลายชนิด เช่น lesson shell (ตัวอย่างโปรแกรม: Apple Shell Games), code generator (ตัวอย่างโปรแกรม: Screen Sculptor) และ library routines 5. เครื่องมือการสร้าง (authoring tools) เช่น Authorware, ToolBook,EZ tools Chula CAI ฯลฯ
การสอนด้วยคอมพิวเตอร์ช่วยสอนของกาเย่ การเร้าความสนใจ การบอกวัตถุประสงค์ การทบทวนความรู้เดิม การนำเสนอเนื้อหาใหม่ การชี้แนวทางการเรียนรู้ การกระตุ้นให้เกิดการตอบสนอง การให้ข้อมูลป้อนกลับ การทดสอบความรู้ การจำและการถ่ายโยงความรู้
การสอนด้วยคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบ MIAP MIAP / KMITNB Motivation Information Application Progress
Motivation ขั้นสนใจปัญหา /การจูงใจผู้เรียน 1. เตรียมการอย่างดี ปฏิบัติการได้ไม่ติดขัด 2. นำผู้เรียนเข้าสู่หัวเรื่องและวัตถุประสงค์ได้ชัดเจน 3. ใช้การรวมสื่อประกอบกับเทคนิคการถามช่วยดึงความสนใจให้มากที่สุด 4. ใช้เวลากะทัดรัดอย่างเหมาะสม 5. พยายามให้ผู้เรียนทั้งชั้นได้มีส่วนร่วม 6. การสรุปจูงใจต้องทำให้ได้อย่างเหมาะสมตรงประเด็นที่จะนำผู้เรียน ศึกษาในเนื้อหาสาระต่อไป
Information ขั้นสนใจข้อมูล พร้อมที่จะรับเนื้อหาสาระ ขั้นที่ให้ผู้เรียนอ่านจากตำรา เรียนรู้ด้วยตัวเอง เรียนรู้สิ่งใหม่ๆ ที่ควรจะได้จากแหล่งข้อมูลต่างๆ ใช้อุปกรณ์ช่วยสอนและวางขั้นตอนในการให้เนื้อหา จากน้อยไปมาก ง่ายไปยาก ตรงตามวัตถุประสงค์ตามหลักสูตร
Application ขั้นนำข้อมูลมาทดลองใช้ 1. เพื่อให้ผู้เรียนมีโอกาสทดสอบความสามารถภายหลังจากผ่านการรับเนื้อหาสาระว่าเขา มีการรับเนื้อหาได้มากน้อยเพียงใด มีความเข้าใจเนื้อหาได้มากน้อยเพียงใด 2. ก่อให้เกิดการตรวจปรับเนื้อหา ในส่วนที่ผู้เรียนยังรับเนื้อไม่ได้ซ่อมเสริมให้สมบูรณ์ ด้วยความถูกต้อง 3. ช่วยลดภาวการณ์อิ่มตัวในการรับเนื้อหา ทำให้รับปริมาณเนื้อหาได้มากขึ้น 4. ใช้เป็นการทบทวนความจำเพื่อป้องกันการเลือนหาย 5. ช่วยพัฒนาการเรียนรู้ให้ผู้เรียนฝึกการใช้สติปัญญาและการแก้ปัญหา เสริมสร้างการ ส่งถ่ายการเรียนรู้
Progress ขั้นประเมินผล ขั้นตอนในการตรวจผลสำเร็จ หรือขั้นตอนในการตรวจสอบความก้าวหน้าในการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล พฤติกรรม ความรู้ เจตคติ ทักษะ
ส่วนประกอบบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน บทนำเรื่อง คำอธิบายการใช้งาน จุดประสงค์บทเรียน รายการหลัก แบบทดสอบก่อนเรียน เนื้อหาวิชา บทสรุปและการนำไปใช้ แบบทดสอบหลังเรียน
การออกแบบหน้าจอภาพ การกำหนดขนาดจอภาพ 640*480 / 800*600 / 1024*728 การกำหนดขนาดจอภาพ 640*480 / 800*600 / 1024*728 การใช้สีตัวอักษร/สีพื้น/รูปภาพ/ภาพเคลื่อนไหว/กราฟิกส์ การจัดรูปแบบจอภาพ การวางภาพ/เนื้อหา/ปุ่มควบคุม การนำเสนอเนื้อหา การใช้เทคนิคประกอบ การควบคุมการเรียน/การป้อนกลับ
คอมพิวเตอร์ช่วยสอนกับงานเทคโนโลยีอุตสาหกรรม เพื่อการฝึกอบรมผู้บริหาร เพื่อการฝึกอบรมพนักงาน/ลดต้นทุนการฝึกอบรม เพื่อนำเสนอรูปแบบการบริหารจัดการโรงงาน เพื่อจำลองสถานการณ์การทำงานเครื่องจักรกล เพื่อลดการใช้วัสดุของจริงในการฝึกหัดอุตสาหกรรม
แนวโน้มในอนาคตของ CAI CAI online Learning Organization Training on the workplace Anytime Anywhere ICAI Virtual Reality
การประเมินบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เนื้อหา (Content) การออกแบบระบบการเรียนการสอน (Instructional System Design) การออกแบบหน้าจอ (Screen Design) เทคนิค (Technique)
คำถาม ????? ถ้าไม่ถามจะให้ดูตัวอย่าง
แบบฝึกหัด แบบประเมิน CAI ขอรับ CAI เพื่อประเมิน 1 ชุด เกณฑ์การประเมิน 4 ด้าน เนื้อหา การออกแบบระบบการเรียนการสอน การออกแบบหน้าจอ เทคนิค ****** ไม่ต้องประเมินคู่มือ *******
CAI แตกต่างอย่างไรกับ e-Learning ON LINE OFF LINE เรียนคนเดียว หลายคนพร้อมกัน ปฏิสัมพันธ์กับเครื่อง ปฏิสัมพันธ์ทั้งเครื่องและคน ติดต่อไม่ได้ในทันที ติดต่อได้ทันที ข้อมูลเฉพาะที่มีให้ ข้อมูลมีทั่วโลก
สรุปสื่ออิเล็กทรอนิกส์ e-Learning
Lecturer Prachyanun Nilsook, Ph.D. Ph.D. (Educational Communications and Technology) King Mongkut’s Institute of Technology North Bangkok 081-7037515 prachyanun@kmitnb.ac.th http://www.prachyanun.com