การเขียนผังมโนทัศน์ Mind mapping เกษม แสงนนท์ xmen2020@hotmail.com www.facebook.com/edmcu.net
หัวข้อบรรยาย Mind mapping คืออะไร Mind mapping มีประโยชน์อย่างไร การนำออกไปใช้ในรูปแบบต่างๆ
สมองมนุษย์
การคิดแนวพุทธ คิดแบบสืบสาวเหตุปัจจัย (หรือคิดแบบสืบสวน) คิดแบบแยกแยะส่วนประกอบ (หรือการคิดเชิงวิเคราะห์) คิดแบบสามัญลักษณ์ (หรือแบบรู้เท่าทันธรรมดา) คิดแบบอริยสัจ (หรือกระบวนการแก้ปัญหา) คิดแบบอรรถธรรมสัมพันธ์ (หรือคิดตามหลักการและความมุ่งหมาย) คิดแบบเห็นคุณโทษและทางออก (หรือข้อดีข้อเสียและทางเลือก) คิดแบบคุณค่าแท้และคุณค่าเทียม คิดแบบปลุกเร้าคุณธรรม คิดแบบเป็นอยู่ปัจจุบัน คิดแบบวิภัชชวาท พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตโต)
ประเภทของผังกราฟิก ผังความคิด (mind map) ผังมโนทัศน์ (concept map) ผังแมงมุม (spider map) ผังลำดับขั้นตอน (sequential map) ทิศนา แขมมณี (2545:387-398)
ประเภทของผังกราฟิก (ต่อ) ผังก้างปลา (fish bone map) ผังวัฏจักร (circle or cycle map) ผังกงกลมซ้อน (venn diagram) ผังรูปอักษรวี (Vee diagram) ผังพล๊อตไดอะแกรม (plot diagram)
Mind Mapping คืออะไร Mind Mapping หรือ Mind Map หรือ Mind-Map คือ การวาดแผนที่จากความคิด หรือ เรียกว่า ผังมโนภาพ ผังมโนทัศน์ เกี่ยวกับเรื่องใดเรื่อง หนึ่งเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ การสื่อความหมาย การแสดง เนื้อหาสาระของเรื่องนั้นๆ ให้เข้าใจถูกต้องและนำไปสู่ การปฏิบัติได้ตรงตามวัตถุประสงค์ Tony Buzan นักจิตวิทยาชาวอังกฤษ เป็นผู้คิดขึ้น และนำไปใช้กันอย่างแพร่หลาย ในไทยมักนำไปใช้ในวง การศึกษาเพื่อให้เด็กฝึกใช้สมองสำหรับการคิดเรื่องราว ต่างๆ และวาดเป็นแผนภาพออกมา (http://en.wikipedia.org/wiki/Tony_Buzan)
Mind Mapping มีประโยชน์อย่างไร Mind Mapping เป็นแผนผัง (Diagram) ใช้เพื่อแสดงคำหรือ แนวความคิดของเรา โดยเริ่มจากจุดศูนย์กลาง แล้วกระจายออกไป เพื่อแสดงให้เห็นถึงองค์ประกอบภาพรวมของเรื่องนั้นๆ ซึ่ง Mind Mapping จะช่วยให้... จัดหมวดหมู่ให้จดจำง่ายขึ้น การเรียนรู้เรื่องต่างๆ รวดเร็วขึ้น แสดงสิ่งที่เป็นนามธรรมเป็นรูปธรรม ใช้แก้ปัญหาต่างๆ ในชีวิตประจำวัน ทำให้ตัดสินใจได้ง่ายขึ้นในกรณีที่มีทางเลือกหลายทาง
การจดจำและจัดหมวดหมู่ สมาธิ เมตตา มุทิตา มรรค อุเบกขา พระสูตร ทุกข์ สมุทัย กรุณา ศีล พระอภิธรรม นิโรธ ปัญญา พระวินัย มังคุด ลำใย กะหล่ำปลี หอม ผักชี ละมุด แตงกวา ส้มโอ แตงโม พุทรา เขมร เวียตนาม ญี่ปุ่น สิงคโปร์ ฝรั่งเศส อังกฤษ ลาว เยอรมัน เกาหลี สเปน แคนาดา จีน บลาซิล อาเจนตินา ไทย ปก คำนำ สารบัญ บรรณานุกรม ภาพ เสียง วิดีโอ ต้นไม้ สนามหญ้า ดอกไม้ จอบ ค้อน ผีเสื้อ ลูกน้ำ
แนวคิดการเขียน Mind mapping ในอดีตจะเขียนด้วยกระดาษแผ่น เดียวโดยกำหนดหัวเรืองจาก แนวคิดหลัก (Concept) ไว้ ตรงกลาง หลังจากนั้นก็เขียน ความคิด (Idea) ออกไปเป็นกิ่ง ก้านคล้ายต้นไม้ แตกเป็นกิ่งใหญ่- กิ่งย่อย-ใบไม้ แล้วจึงรวมเป็น เนื้อหาของเรื่องทั้งหมด
Workshop ให้แบ่งกลุ่ม / เลือกหัวข้อ / ฝึกเขียน กลุ่ม 1 ไตรภูมิ กลุ่ม 1 ไตรภูมิ กลุ่ม 2 ไตรสิกขา กลุ่ม 3 จังหวัดในประเทศไทย กลุ่ม 4 ผลไม้ไทย กลุ่ม 5 สัตว์ต่างๆ
หลักการเขียน Mind mapping ใช้คำมูลสั้นๆ ตัวบรรจง อ่านได้ชัดเจน ภาษาอังกฤษให้ใช้ตัวพิมพ์ใหญ่ (CAPITAL) ภาพ คำ สัญลักษณ์ที่นำมาใช้ ต้องมีเส้นรองรับ เส้นความคิดต้องลื่นไหลต่อเนื่องเชื่อมติดกับเส้นก่อน หน้า ปรับปรุงเนื้อหาโดยการ เชื่อมโยงข้อที่เกี่ยวข้องกัน ลบข้อที่ซ้ำซ้อน ตัดข้อที่ไม่เกี่ยวข้อง
เครื่องมือและขั้นตอนการเขียน กระดาษเปล่า, ปากกาหลากสี, ยางลบ, หัว เรื่องที่กำหนด ขั้นตอนการเขียน เขียนแนวคิดหลักตรงกลางกระดาษ (แก่น แกน) ใช้รูปภาพหรือสัญลักษณ์แทนความคิดที่สื่อ ได้ดีที่สุด ขีดเส้นความคิดสำคัญ (กิ่งแก้ว) ให้ ครอบคลุมเนื้อหาตามข้อ ๑ กระจายความคิดสำคัญเป็นความคิดย่อย (กิ่งก้อย) และเพิ่ม รายละเอียดต่างๆ (ใบ) ให้ครอบคลุม A B C D
ตัวอย่าง
การเขียนด้วยโปรแกรมต่างๆ www.thinkbuzan.com/th www.mindjet.com www.edrawsoft.com
เขียน Mind Mapping ด้วยคอมพิวเตอร์ การติดตั้ง แนะนำ และเริ่มใช้โปรแกรม Xmind การสร้าง (Create) mind-map การแก้ไขปรับแต่ง (Edit) mind-map การนำเสนอ (Show) หรือใช้กับ Word และ PowerPoint การนำออก (Export) ไปใช้เป็นรูปภาพ การพิมพ์ (Print) CESEP
การประยุกต์แบบต่างๆ
การสร้าง mind mapping วิธีใช้ กด Insert เพื่อเพิ่ม Main Topic Double Click เพื่อแก้ไข ข้อความ กด Delete เพื่อลบสิ่งต่างๆ
การปรับแต่ง mind mapping
การนำเสนอ/แสดง mind mapping
การนำออกไปใช้เป็น ภาพ หรือ text เมนู File เลือก Export เลือก Image เลือกแบบ .png ตั้งชื่อไฟล์ บ้นทึก ถ้าต้องการจะนำข้อความไปใช้ใน word ทำได้ ดังนี้ เมนู File เลือก Export เลือก Text ตั้งชื่อไฟล์ แล้วกด Next และกด Finish
การพิมพ์ (Print) เมนู File เลือก Print จะปรากฏหน้าต่างขึ้น คลิกไม่เลือก Background และ Border ที่ Footer อาจพิมพ์ข้อความท้ายกระดาษ เช่น Kasem S. 23-01-13 กด Next และเลือกเครื่องพิมพ์ เสร็จแล้ว กด Print
การอ้างอิงและแหล่งเรียนรู้ อาณัติ รัตนถิรกุล, 2550. สร้าง Mind Map ด้วย Mind Manager (ภาคปฎิบัติ) : กรุงเทพฯ, ซีเอ็ดยูเคชั่น. http://en.wikipedia.org/wiki/Mind_map www.xmind.net www.mindmap.in.th www.thinkbuzan.com/th/index/welcome www.mindjet.com www.prachasan.com/mindmapknowledge/x5manual.htm
Thank you.