หน่วยที่ 3 เรื่อง การวิเคราะห์รายการค้า

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ปัจจุบัน มี 6 สาขา สาขา 1 จ.เพชรบูรณ์ สาขา 2 จ.เพชรบูรณ์ สาขา 1 จ.เพชรบูรณ์ สาขา 2 จ.เพชรบูรณ์ สาขาบ้านสวน 2 วังน้อย อยุธยา.
Advertisements

วันนี้เรามาลองสมมุติกันค่ะ
QC: CPN Vendor System Oct 28, 2010 Nakarin P..
ระบบเลขฐานสอง โดย นางสาวภาณุมาศ นักษัตรมณฑล รหัสนิสิต
เจ็ดมหัศจรรย์ของโลก.
บทที่ 1 ลักษณะของระบบบัญชี
บทที่ 4 การร่วมค้า การร่วมค้า หมายถึง การประกอบกิจกรรมเชิงเศรษฐกิจ
เกมธุรกิจแห่งชาติ ตัวชี้วัด น้ำหนัก 1 ยอดขาย 10% 2 กำไร 40% 3 ROE 15%
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
เศรษฐกิจพอเพียง.
การแจกลูกและการสะกดคำ โรงเรียนฟากกว๊านวิทยาคม อ.เมือง จ. พะเยา
พ่อกับลูก ท่ามกลางหิมะ อันเหน็บหนาว สิ่งที่ปกป้องความเย็นให้กับลูกน้อย
จำนวนนับ และการบวก การลบ การคูณ การหารจำนวนนับ
การเปิดเผยข้อมูลและ นโยบายการบัญชี
ทีมสำรวจอวกาศ ทีมสำรวจอวกาศ: ภารกิจ! แผนการจัดการเรียนรู้ 1: ภารกิจ 1.
เรื่อง... ความสัมพันธ์ของยุคสมัยทางประวัติศาสตร์สากลและ
ได้ซิจ๊ะแหม่ม ทำไมจะไม่ได้ล่ะ
สรุปใบงาน วิชา ระบบสารสนเทศทางการบัญชี บช. 342
การวิเคราะห์รายการค้า และหลักการบันทึกบัญชี
บทที่ 4 งบการเงิน.
ระบบบัญชีเดี่ยว.
บทที่ 6 การบัญชีสำหรับกิจการซื้อ-ขายสินค้า
การบันทึกรายการค้าในสมุดบัญชี
การทำความเข้าใจกับงบทดลอง
นางสาววรนุช ชัยกิตติภรณ์ หัวหน้าสนง.ตรวจบัญชีสหกรณ์ชลบุรี
สินทรัพย์ = หนี้สิน + ทุน
หน้าที่ของสมาชิกสหกรณ์
ระบบบัญชี.
Mind Game คุณจะเป็น 2 % หรือ 98 %.
โรงเรียนบ้านแพะยันต์ดอยแช่
KS-Shop.com                                                                                                                     
น.ส.จันทิมา วรวัตรนารา แอนิเมชั่น&มัลติมีเดีย
เครื่องมือช่วยในการจับประเด็น รวบรวมความคิดให้เป็นหมวดหมู่
กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต พัฒนาการอำเภอเมืองพิจิตร จังหวัดพิจิตร
คิดแบบพอเพียง ของคนพอเพียง.
บัญชีรับ – จ่ายในครัวเรือน และต้นทุนประกอบอาชีพ
เป้าประสงค์ คิดคำนวณกำไร – ขาดทุนจากการประกอบอาชีพ
เรื่องหลักการแก้ปัญหา
โครงการศึกษาดูงานนอกสถานที่ สหกรณ์ออมทรัพย์โรงพยาบาลมุกดาหาร จำกัด
บทเรียนสำเร็จรูป สำนวน คำพังเพย สุภาษิต ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑.
แม่ครับ ผมขอถามอะไรหน่อย
สินค้าคงเหลือ.
บัญชีแยกประเภทและผังบัญชี
งบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคาร
บทที่ 6 การปิดบัญชี การปิดบัญชีในสมุดรายวันทั่วไป
การบันทึกรายการในสมุดบัญชีแยกประเภท
พบกันอีกแล้วครับวันนี้พี่มีการ์ตูน
เกาชีวิต ดำรงค์ วงษ์โชติปิ่นทอง.
เด็กไทยรุ่นใหม่ใส่ใจการออม
การนำเสนอการ์ตูนบัญชี
วิชาคอมพิวเตอร์ ง โครงงาน เรื่อง สนุกกับคำ เสนอ
เทคนิคการจำแนกหมวดบัญชี
หลักสูตรสู่ความสำเร็จใน 90 วัน
ระบบบัญชีเดี่ยวและสินค้า
วิธีการออมเงินแบบบ้านๆ (กดคลิ๊กไปเรื่อยๆเพื่อเป็นการดูไฟล์)
บทที่ 5 การบันทึกบัญชีแยกประเภท
ค้นเจอหนังสือที่ต้องการ ใน library catalog
บทที่ 9 เรื่อง งบการเงิน
ศึกษาปัญหาธุรกิจ E-commerce ผู้สอน อาจารย์ ดร.จินต์จุฑา อิสริยภัทร์
วิชาการบัญชีสินค้าและระบบบัญชีเดี่ยว
บันทึกสัมภาษณ์นักเรียน มัธยมศึกษาต้น สัมภาษณ์โดย พระปิยะณัฐ คุณวโร คณะครุศาสตร์ ชั้นปีที่ ๔ วิชาเอกการสอน ภาษาอังกฤษ สัมภาษณ์โดย พระปิยะณัฐ คุณวโร คณะครุศาสตร์
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช
“คำพูดคุณครู”.
บทที่ 3 การวิเคราะห์รายการค้า.
หน่วยที่ 3 การบันทึกรายการค้าในสมุดรายวันทั่วไป
จัดทำโดย นายวิทวัสชัย คำยะ นายธนวัฒน์ น้อยมหาพรม
LOGO. ปัญหาการ วิจัย ผู้วิจัยจึงตั้งปัญหาใน การวิจัยครั้งนี้ว่า.
บทที่ 5 ภาวะการเงิน.
คุณค่าของสื่อ.
การพัฒนาความรู้ ความเข้าใจ เรื่องการวิเคราะห์รายการค้าในวิชาบัญชีเบื้องต้น 1 โดยใช้ชุดฝึกปฏิบัติของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 กลุ่ม.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หน่วยที่ 3 เรื่อง การวิเคราะห์รายการค้า หน่วยที่ 3 เรื่อง การวิเคราะห์รายการค้า นำเสนอโดย นางสาวศิริพร จันทะแสน เลขที่ 14 4/6 B นางสาวอนงค์นาถ ผาสิกา เลขที่ 17 4/6 B นางสาวนภัศวรร พิสุทธ์เสถียง เลขที่ 23 4/6 B นางสาวจิตสุภา ไวทยสุวรรณ เลขที่ 24 4/6 B

นี่เธอ การวิเคราะห์รายการค้าที่เรียนมาวันนี้เราไม่ค่อยเข้าใจเลยเธอช่วยอธิบายหน่อยได้ไหม ? ได้เลยจ๊ะ

เรา…อยากรู้ว่าความหมายของมันคืออะไรเหรอ ? ก็…เป็นการวิเคราะห์ไงล่ะว่า การที่เราลงทุนทำกิจการใด กิจการหนึ่งอยู่นั้น มีผลกระทบต่อเงินทอง หนี้สิน และต้นทุนของเรายังไงบาง…… เรา…อยากรู้ว่าความหมายของมันคืออะไรเหรอ ?

ก็เราจะได้รู้ไงล่ะระหว่างที่เราทำกิจการอยู่เงิน…หนี้สิน และต้นทุน ของเราเพิ่มขึ้น..หรือลดลง เพื่อจะได้เป็นแนวทางในการแก้ปัญหาหรือ ขยายกิจการเพิ่มในอนาคต…ยังไงล่ะ อืม……. แล้วทำเพื่ออะไรเหรอ ?

พี่คะแล้ว…มันมีวิธีการ คิดยังไงบ้างเหรอคะ…. อันดับแรกคือ…ไม่ว่าเราจะวิเคราะห์รายการไหนก็แล้วแต่…เราต้องยึดตามสมาการบัญชีที่เราเรียนผ่านมาแล้วเป็นหลักน้องยังจำได้ใช่มั๊ย…?

อ๋อ… จำได้อยู่แล้วคะแต่พี่ลองวิเคราะห์ให้หนูดูซักอย่างได้มั๊ยจ๊ะ ได้สิ…..แต่น้องต้องตั้งใจฟังด้วยน๊ะ

OK จ๊ะ หนูจะตั้งใจฟังคะ เริ่มเลยนะ…สมมุติว่าน้องจะเปิดร้านขายอาหาร แล้วน้องก็เอาเงินของน้องที่มีอยู่มาลงทุนซัก 100,000 บาท…สิ่งที่น้องจะวิเคราะห์ได้ คือ สินทรัพย์ที่เพิ่มคือ ทุนของน้องเอง ไงล่ะ พอเข้าใจมั้ย ? OK จ๊ะ หนูจะตั้งใจฟังคะ

การทำร้านอาหารก็ต้องมีอุปกรณ์ใช่มั้ย…สมมุติว่าเธอใช้เงินสดซื้ออุปกรณ์ในการทำอาหารไป 10,000 บาทสิ่งที่จะวิเคราะห์ได้คือ…สินทรัพย์เพิ่ม คือ อุปกรณ์สินทรัพย์ลด คือ เงินสด 10,000 บาทยังไงล่ะ เข้าใจจ่ะ….

แล้วมีการวิเคราะห์ในกรณีไหนอีกบ้างจ๊ะ……… มีจ่ะ…อย่างเช่น เธอได้รับค่าขายอาหารให้ลูกค้า 500 บาทสิ่งที่วิเคราะห์ได้คือ…สินทรัพย์คือ….เงินสด 500 บาท…ส่วนของเจ้าของเพิ่มคือ รายได้ค่าขายอาหาร อ๋อ..ยังงี้นี่เอง.. แล้วมีการวิเคราะห์ในกรณีไหนอีกบ้างจ๊ะ………

มีอะไรเพิ่มเติมอีกมยจ๊ะ มีสิครับ…นอกจากนี้เรายังต้องมีการจัดหมวดหมู่และกำหนดเลขที่บัญชีด้วยน๊ะครับ มีแค่นี้…...เหรอ มีอะไรเพิ่มเติมอีกมยจ๊ะ

อันแรกน๊ะ…การจัดหมวดหมู่ จะมี 5 หมวดก็คือ 1 สินทรัพย์ 2 หนี้สิน 3 ทุนหรือส่วนของเจ้าของ 4 รายได้ 5 รายจ่าย ยังไงล่ะ…..จ๊ะ แล้ว…มันมีอะไรบ้างเหรอ?

แล้วการกำหนดเลขที่บัญชีล่ะทำได้ยังไงบ้าง การกำหนดเลขที่บัญชีจะมีหลายแบบ เช่น แบบตัวเลขหรือตัวอักษร,ตัวเลขผสมอักษร,แบบหมวดหมู่,เป็น ช่วงเป็นตอน,แบบจุด ทศนิยมเยอะใช่มั๊ยล่ะ…? แต่ว่าเราจะยกตัวอย่างให้เธอดูอันที่ใช้กันส่วนใหญ่ก็แล้วกัน แล้วการกำหนดเลขที่บัญชีล่ะทำได้ยังไงบ้าง

จะใช้กันเยอะที่สุดเลย ก็….แบบตัวเลขไง จะใช้กันเยอะที่สุดเลย แล้วที่ใช้ส่วนใหญ่ คือแบบไหนเหรอ….

OK ถ้างั้นเธอก็ลองอธิบายแบบตัวเลขเลยล๊ะกัน ได้จ่ะ…ก็อย่างเช่น เงินสดเป็นสินทรัพย์อยู่ในหมวด 1 ก็ต้องเป็น 101 ถ้ามีเงินฝากธนาคารด้วยก็เป็น 102 ถ้าเป็นเจ้าหนี้สินหมวด 2 ก็เป็น201 ถ้าเป็นเงินกู้ก็หนี้สินเหมือนกันก็เป็น 202 ก็คือเรียงไปตามอันไหนเกิดก่อนหลังประมาณนี้แหล่ะจ่ะพอได้มั๊ย ?

แล้วก็เรียงไปเรื่อยๆ ใช่มั๊ย ใช่แล้วจ่ะ… เข้าใจถูกต้องเลย ก็พอใจจ่ะ… ถ้างั้นสมมุตว่าเป็นทุนก็ต้องเป็น 301 หรือถ้าถอนไปใช้เองก็ 302 เงินรายได้ก็ต้อง 401 ถ้าเป็นค่าใช้จ่ายต่างๆ ก็เป็น 501 แล้วก็เรียงไปเรื่อยๆ ใช่มั๊ย

เราต้องขอบใจเธอมาก ๆ เลยจ๊ะที่ช่วยติวให้ จนเราเข้าใจ ไม่เป็นไรจ๊ะ ยินดีอยู่แล้ว เราต้องขอบใจเธอมาก ๆ เลยจ๊ะที่ช่วยติวให้ จนเราเข้าใจ

เราขอถามอะไรอีกอย่างสิ… ไม่มีอะไรเลยจ๊ะ…..ง่ายมากก็แค่มาให้ทันอาจารย์สอนตั้งแต่ต้นชั่วโมง แล้วก็ตั้งใจฟังในสิ่งที่อาจารย์สอน แค่นี้เรื่องยากก็กลายเป็นเรื่องง่ายไปเลยล่ะ…สู้ต่อไปจ๊ะ เราขอถามอะไรอีกอย่างสิ… เธอมีวิธียังไงเหรอที่ช่วยให้เรียนแล้วเข้าใจเรียนแล้วรู้เรื่อง