แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว
Advertisements

ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
ดร. ธนวรรธน์ อิ่มสมบูรณ์
การประชุมเชิงปฏิบัติการ สร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
ประธานกลุ่ม : คุณสยาม เลขานุการกลุ่ม : คุณรัตนา ผู้นำเสนอ : คุณศรัญญา, คุณจรรยวรรธน์ สรุปผลการประชุม กลุ่มที่ 5.
ประเด็นยุทธศาสตร์ กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ ดื่มน้ำสะอาด
การส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
บทบาท “ Six Key Function” ในจังหวัดภาคกลางตะวันตก
กลุ่มโภชนาการประยุกต์
การพัฒนาเครือข่ายภาคประชาชนในการ จัดระบบเฝ้าระวังโรคไข้หวัดใหญ่ 2009 ภาคกลาง วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้เครือข่ายภาคประชาชน มีความรู้ความ เข้าใจที่ถูกต้อง.
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
โรงเรียน อสม. ตำบลหนองไม้แก่น อ.แปลงยาว จ.ฉะเชิงเทรา
องค์ประกอบ/กระบวนงานด้านการคุ้มครองเด็ก ในระดับจังหวัดสมุทรสาคร
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
งานโรคไม่ติดต่อ กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครราชสีมา
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
กำหนดเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
ยุทธศาสตร์ กรมสุขภาพจิต
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
LOGO งาน High Light การพัฒนา สุขภาพ จังหวัดลพบุรี ประจำปี 2552.
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
ห้องประชุมสานฝัน โรงพยาบาลสังขะ
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
นโยบายและทิศทาง การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ เด็กวัยเรียนและเยาวชน
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ(SLM) ร่วมสองกรม
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
วิเคราะห์บริบท / สถานการณ์
คำแนะนำการใช้ SLM ร่วมระหว่าง กรมอนามัยและควบคุมโรค  การจัดการทั่วไป 1. สสจ. จัดประชุมเพื่อพัฒนา SLM ร่วมเพิ่มเติม ผู้ เข้าประชุมประกอบด้วยคณะผู้แทนศูนย์อนามัย.
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
นักโภชนาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
แนวทางการปฏิบัติภารกิจ ของสถานีอนามัย
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
บทบาท อสม.เชิงรุก ๑. เป็นผู้นำทางความคิดและผู้นำทางด้านสุขภาพในระดับชุมชน ในการลดโรค ๕ โรคสำคัญที่เป็นสาเหตุการตายลำดับต้นๆของประชาชน คือ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง.
สรุปโครงการอบรมพัฒนาศักยภาพ อสม.ปี 2550
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
โครงการในปีงบประมาณ 2558.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
วัตถุประสงค์ของ หน่วยงาน 1. ถ่ายทอดองค์ความรู้ และ แนวทางการดำเนินการ ป้องกัน ควบคุมโรค งานอนามัย สิ่งแวดล้อม และงาน อา ชีวอนามัย ที่ได้มาตรฐาน 2. ดำเนินการป้องกันควบคุมโรค.
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
สกลนครโมเดล.
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดโรคและภัยสุขภาพ รอบ 5 เดือน ( ตุลาคม กุมภาพันธ์ 2554 )
(Evaluation) มุมมองประชาชน มุมมองภาคี (Stakeholder) มุมมองกระบวนการ
Happy Newyear 2009 สวัสดีปีใหม่ 2552 แด่...ทุกท่าน
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
ทิศทางการพัฒนางานสุขศึกษาและพฤติกรรมสุขภาพ
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
ทำแผนที่ทางเดินยุทธศาตร์ของ แกนนำชุมชน เทศบาลสนับสนุน งบประมาณอย่างเต็มที่ เครือข่ายชุมชน วัด โรงเรียนมีบทบาทในการ ดำเนินงานด้านสุขภาพ ใช้แผนที่ยุทธสาสตร์
“ทิศทางการบริหารจัดการเชิงยุทธศาสตร์ กรมควบคุมโรค
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ นพ. สมยศ ดีรัศมี อธิบดีกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ

นโยบายที่สำคัญ ปี 2552 การอบรมเพิ่มความรู้ให้แก่ อสม. กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ การอบรมเพิ่มความรู้ให้แก่ อสม. การป้องกันและควบคุมโรคไข้หวัดนกโดยเครือข่ายภาค ประชาชน การเชิดชูเกียรติ อสม. การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพภาคประชาชนในการดำเนินงาน หมู่บ้านจัดการสุขภาพ

กรอบแนวคิดในการดำเนินงาน 1. เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ เรื่อง การดูแลสุขภาพ การจัดระบบสุขภาพชุมชน และการพิทักษ์สิทธิด้านสุขภาพ แก่ อสม.และ ภาคีเครือข่าย 2. เสริมสร้างความเข้มแข็งของภาคประชาชน ในการจัดระบบสุขภาพชุมชน หมู่บ้านจัดการสุขภาพ แผนสุขภาพชุมชน ซ้อมแผนไข้หวัดนก แผนที่ยุทธศาสตร์ อสม. ดีเด่น ระบบสุขภาพ ชุมชน อบรมให้ความรู้ อสม. ให้ความรู้ผ่านสื่อต่าง ๆ อบรมนักจัดการสุขภาพ 4. พัฒนาองค์ความรู้การจัดการความรู้ และนวัตกรรมสุขภาพชุมชน 3. เสริมสร้างการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย ในการสนับสนุนการจัดระบบสุขภาพชุมชน ประชุมชี้แจง (กอง / ศูนย์ ฯ สช.) เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สนับสนุนวิชาการ งบ ฯ สื่อ วัสดุ / อุปกรณ์ ตำบลจัดการสุขภาพ จัดงานเชิดชูเกียรติ อสม. นิเทศติดตามประเมินผล - วิจัยพัฒนารูปแบบ - การจัดการความรู้ / นวัตกรรม กรอบแนวคิดในการดำเนินงาน

อสม. ดีเด่น ปี 2552 สาขาเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ สาขาเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ สาขาสุขภาพจิตในชุมชน สาขายาเสพติดในชุมชน สาขาการบริการใน ศสมช. สาขาการคุ้มครองผู้บริโภค สาขาการแพทย์แผนไทยและภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านสุขภาพ 7. สาขาเอดส์ในชุมชน 8. สาขาการส่งเสริมสุขภาพ 9. สาขาเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อ 10. สาขาการจัดการสุขภาพชุมชน 11. สาขาอนามัยแม่และเด็ก 12. สาขาการปฏิบัติงานดีเด่นในพื้นที่ ที่มีภาวะวิกฤติ (เฉพาะ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้)

การอบรมพัฒนาศักยภาพ อสม. ปี 2552 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ วัตถุประสงค์ เพิ่มความรู้ และทักษะที่จำเป็นให้ อสม. ตามสภาพปัญหาสาธารณสุขที่เปลี่ยนแปลงไป เป้าหมาย อสม. ในทุกหมู่บ้าน / ชุมชนทั้งประเทศ จำนวน 150,000 คน (เฉลี่ยหมู่บ้านละ 2 คน) เนื้อหา สายใยรักครอบครัว การลดภาวะโลกร้อน แผนสุขภาพชุมชน อื่น ๆ ตามสภาพปัญหาของพื้นที่

บทบาท อสม. ที่คาดหวัง กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ปรับพฤติกรรม : เป็นต้นแบบด้านสุขภาพ ดูแลสุขภาพจิต สายใยรักครอบครัว คุณธรรมจริยธรรม ลดความรุนแรงในครอบครัว ดูแลสิ่งแวดล้อม : ลดภาวะโลกร้อน ป้องกันภัยคุกคามสุขภาพ เช่น ไข้เลือดออก ไข้หวัดนก โรคฉี่หนู มาตรการสังคม : แผนที่ยุทธศาสตร์ นวัตกรรมสุขภาพ

การป้องกันและควบคุมโรคไข้หวัดนก กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ พัฒนาศักยภาพ อสม. ให้มีความรู้และทักษะในการควบคุมและป้องกันโรคไข้หวัดนกป้องกันการระบาดจากคนสู่คน การล้างมือ การใช้ mask เย็บ Mask ซ้อมแผนไข้หวัดนกในพื้นที่เสี่ยง (เฉลี่ยอำเภอละ 1 ตำบลประมาณ 50% ของอำเภอทั่วประเทศ)

ผลลัพธ์ที่ต้องการ ชุมชนมีระบบการจัดการด้านสุขภาพ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ชุมชนมีระบบการจัดการด้านสุขภาพ ประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม หมู่บ้านจัดการสุขภาพ (ร้อยละ 65) มีแผนสุขภาพ มีการบริหารจัดการงบประมาณ กิจกรรมพัฒนาสุขภาพ มีการประเมินผล ประชาชนมีส่วนร่วม หมู่บ้านต้นแบบลดโรค (จังหวัดละ 2 หมู่บ้าน) ออกกำลังกายทุกวัน กินผักวันละครึ่งกิโลกรัม จัดตั้งธนาคารผัก