การฟังเพลง
จุดประสงค์ในการฟัง ๑. การฟังเพื่อความรู้ ๑. การฟังเพื่อความรู้ ต้องฟังโดยตั้งใจ มีสมาธิจึงจะบรรลุจุดมุ่งหมายใน การฟัง ต้องแยกให้ได้ว่า ตอนใดเป็นความรู้สึกนึกคิด ตอนใด เป็นข้อเท็จจริง หรือ ตอนใดเป็นความคิดเห็นของผู้พูด ต้องพิจารณาอย่างรอบคอบ สิ่งใดที่เป็นความรู้ใหม่ ๆ ต้องจดบันทึกความสำคัญไว้ด้วย
จุดประสงค์ในการฟัง ๒. การฟังคำสั่งเพื่อนำไปปฏิบัติได้ ๒. การฟังคำสั่งเพื่อนำไปปฏิบัติได้ ต้องฟังด้วยความตั้งใจ และฟังให้เข้าใจแยกข้อความว่า ใครสั่ง สั่งทำอะไร ทำอย่างไร ถ้าฟังคำสั่งไม่เข้าใจ ให้ขอร้อง ผู้พูดให้พูดซ้ำจนเข้าใจ ควรจดบันทึกคำสั่งไว้เพื่อกันลืม และ จะได้นำไปปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง
จุดประสงค์ในการฟัง ๓. การฟังเพื่อความเพลิดเพลิน ๓. การฟังเพื่อความเพลิดเพลิน ผู้ฟังจะเกิดอารมณ์และความรู้สึกเพลิดเพลินเมื่อได้ฟัง น้ำเสียง อาจเป็นเสียงมนุษย์ เสียงดนตรี เสียงธรรมชาติ หรือ การได้ฟังเรื่องราวที่พอใจ นอกจากจะเกิดความเพลิดเพลินแล้ว ยังก่อให้เกิดความรู้ ความรู้สึกข้อคิดต่าง ๆ ที่อาจนำไปใช้ใน ชีวิตประจำวันได้
จุดประสงค์ในการฟัง ๔. การฟังเพื่อพิจารณาคุณค่าของสิ่งที่ฟัง ๔. การฟังเพื่อพิจารณาคุณค่าของสิ่งที่ฟัง ต้องเลือกเฟ้นเรื่องที่ดีมีประโยชน์แก่ตนเองให้มากที่สุด โดยมีหลักสำคัญ คือ เรื่องนั้นเป็นเรื่องเกี่ยวกับอะไร มีคติ สอนใจอะไรบ้าง ได้อารมณ์ความรู้สึกอย่างไรบ้าง ได้ประโยชน์ สามารถนำไปใช้ได้อย่างไร และสามารถนำสำนวนภาษาไปใช้พูด ใช้เขียนได้อย่างไร
จุดประสงค์ในการฟัง ๕. หลักการฟังคำถาม ๕. หลักการฟังคำถาม ต้องตั้งใจฟังคำถามและจับใจความว่าผู้ถามต้องการถาม เรื่องอะไร ถามว่าอย่างไร ให้เรียงลำดับเรื่องที่ฟังว่าถามคำถามใด ก่อน – หลัง ถ้าฟังคำถามไม่เข้าใจควรขอร้องผู้ถามให้ถามซ้ำ ควรจดบันทึกคำถามไว้เพื่อกันลืม และตอบคำถามให้ตรงประเด็น และเรื่องราวที่ถาม
จุดประสงค์ในการฟัง ๖. หลักการฟังเพื่อจับใจความสำคัญ ๖. หลักการฟังเพื่อจับใจความสำคัญ ผู้ฟังต้องตั้งใจฟังอย่างมีสมาธิ ฟังเรื่องให้เข้าใจ ให้ พิจารณาว่าตอนใดเป็นใจความสำคัญ ตอนใดเป็นส่วนขยาย ให้วิเคราะห์แยกแยะว่าอะไรเป็นข้อเท็จจริง อะไรเป็นข้อคิดเห็น อะไรเป็นเหตุ อะไรเป็นผล ให้บันทึกข้อความที่สำคัญไว้ โดยใช้ ภาษาของตนเองอย่างสั้น ๆ ง่าย ๆ เพื่อเป็นการสรุปความ
จุดประสงค์ของการฟัง มีอะไรบ้างเอ่ย
การฟังเชิงวิเคราะห์ ๑. ฟังเรื่องนั้น ๆ อย่างละเอียด ตั้งแต่ต้นจนจบ ๑. ฟังเรื่องนั้น ๆ อย่างละเอียด ตั้งแต่ต้นจนจบ ๒. พิจารณาแยกแยะว่าตอนใดเป็นข้อเท็จจริง ตอนใดเป็น ข้อคิดเห็น ๓. ใช้ความรู้ ประสบการณ์ แยกแยะส่วนที่ดี และ ส่วนที่บกพร่อง อย่างมีเหตุผล ๔. เมื่อฟังจบแล้วต้องบอกได้ว่าเรื่องที่ฟังนั้นมีคุณค่าอย่างไร
มาฟัง เพลงดีมีคุณค่า กันเถอะ