NCD เขตบริการสุขภาพที่ 1.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
งานข้อมูล และ เทคโลโลยีสารสนเทศกลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์
Advertisements

การดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2556 งบค่าเสื่อม
Service Plan สาขา NCD.
การบริหารงบค่าเสื่อม 2557
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
ข้อมูลสุขภาพ 21,43 แฟ้ม: การจัดการเพื่อใช้ประโยชน์
โครงการพัฒนาโรงพยาบาลราชบุรี บริการฉับไว ไร้ความแออัด
ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2557 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณีปกติรอบที่ 1 ปีงบประมาณ จังหวัดสุรินทร์
ตัวชี้วัด P4P ตัวชี้วัดที่2 : ร้อยละของผู้ที่อยู่ในภาวะพึ่งพิง(ติดเตียง)ได้รับการดูแล สุขภาพที่บ้าน(HHC) โดยบุคลากรสาธารณสุข เป้าหมาย ร้อยละ 80.
ผลการพัฒนาระบบการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
การวิเคราะห์แผนงบลงทุน ปี 2552 และแผนยุทธศาสตร์งบลงทุน ปี
ความคาดหวังหลังการประชุมฯ ครั้งนี้
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
โรคหลอดเลือดสมองเสื่อม
คณะทำงานกลุ่มที่ 1 ลำปาง เชียงราย อุตรดิตย์ ลำพูน พะเยา
เขต 15 เขต 15: เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง แม่ฮ่องสอน.
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
แผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กลุ่มวัยผู้สูงอายุ 2557
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
ตัวชี้วัดที่ 3 ระดับความสำเร็จในการพัฒนาบริการผู้ป่วยโรคจิตให้เข้าถึงบริการเพิ่มขึ้นในพื้นที่ เป้าหมาย จำนวนผู้ป่วยโรคจิตที่เข้าถึงบริการเพิ่มขึ้นร้อยละ.
สิบเอ็ดประตูเมืองงาม เรืองนามพระสูงใหญ่ ผ้าไหมสาเกต บุญผะเหวดประเพณี มหาเจดีย์ชัยมงคล งามน่ายลบึงพลาญชัย เขตกว้างไกลทุ่งกุลา.
การป้องกันภาวะไตวาย ประกอบด้วย 2 โครงการ 1. โครงการป้องกันภาวะไตวาย จ
ผลการดำเนินงาน ตค.50 – มค.51. รหัส ตัวชี้วัดเกณฑ์ผลการดำเนินงานจังหวัด เป้าหมาย(Y)ผลงาน (X)อัตร า (Z) 1001 ประชาชนที่มี หลักประกันสุขภาพ ได้รับบริการ.
แผนงานป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ยุทธศาสตร์ที่ 2: ลดปัจจัยเสี่ยงในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น นำ KM ไปใช้ 1. ระดับศูนย์เขต 1.1 เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เสริมสร้างศักยภาพ ชมรมเด็กไทยทำได้ วันที่
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 เน้นชุมชนให้มี การพัฒนา ระบบสุขภาพ อย่างครบวงจรใน รูปเครือข่าย โครงการพัฒนา เครือข่ายฯ ประสานจังหวัด เลือกผู้นำชุมชน / ผู้สื่อข่าว.
สารสนเทศกับการพัฒนางาน โรงพยาบาล
นโยบายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ผลงานเดือนเม.ย.-ธ.ค.56 ถึงเดือน ม.ค.57
การประเมินคลินิกNCD คุณภาพ
การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ ปี 2557
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
ประจำเดือนมกราคม 2557 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
การดำเนินงานระบบสุขภาพอำเภอ (DHS) ตามนโยบาย กระทรวงสาธารณสุข
แผนสุขภาพเขตกลุ่มวัยทำงานDM, HT, IHD Focal point สสจ.ราชบุรี
การบริหารงบค่าเสื่อม ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ปีงบประมาณ 2555
คณะกรรมการพัฒนาคุณห้องปฏิบัติการ เขตบริการสุขภาพที่ 5
สรุปผลงานข้อมูลคุณภาพ
Service plan สาขาไต นพ.ประนาท เชี่ยววานิช.
นพ.ธนชัย พนาพุฒิ อายุรแพทย์โรคไต รพ.ขอนแก่น 14 พย. 2557
แผนพัฒนาระบบบริการ สาขาบริการปฐมภูมิ
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
ผลการดำเนินงานตามแนวทางพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาจักษุวิทยา จังหวัดปราจีนบุรี ตุลาคม 2556 – มิถุนายน 2557 พญ. นิภาภรณ์ มณีรัตน์
การพัฒนาสาขาสุขภาพช่องปาก เขตบริการสุขภาพที่ 11
นำเสนอแผนปฏิบัติการสาธารณสุข
ศุภวรรณ มโนสุนทร Ph.D.Hd, MPH, B.Sc สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
สาขาโรคมะเร็ง.
ประชุมชี้แจงการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2556 “เพิ่มประสิทธิภาพหลักประกันสุขภาพไทย” ระหว่างวันที่ ตุลาคม 2555 ณ โรงแรมเซ็นทราศูนย์ราชการ.
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
บูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพ ด้านพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
การพัฒนาการดำเนินงาน Service Plan เขตบริการสุขภาพที่ 1 สาขาตา
การพัฒนา คป.สอ/รพ.สต.ติดดาว
โครงการลดปัญหาสุขภาพจากระบบสืบพันธุ์
ทันตสาธารณสุข นำเสนอความสำเร็จตัวชี้วัด Functionปี 54
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2555 เดือนมกราคม
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
การดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง
การจัดการข้อมูลเพื่อประมวลผลงานตามตัวชี้วัดปี58
สาขาโรคมะเร็ง เขตบริการสุขภาพที่ 1
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
เกณฑ์การประกวดอำเภอดีเด่น ด้านการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
ขับเคลื่อนงานด้านโรคไม่ติดต่อ และการบาดเจ็บ
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2556 เดือน พฤศจิกายน 2555 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

NCD เขตบริการสุขภาพที่ 1

P F M S,A การคัดกรอง คลินิกคุณภาพ การรักษาที่ได้มาตรฐาน + ค่าเป้าหมาย การคัดกรองภาวะแทรกซ้อน การแก้ไขปัญหาตามสภาพข้อมูล คลินิกคุณภาพ ท้องถิ่น ภาคประชาชน P F M S,A

Health Service plan สาขา ..............โรคไม่ติดต่อ ................................................................... ตัวชี้วัด ตัวชี้วัด Baseline data ค่าเป้าหมาย ร้อยละของการคัดกรองเบาหวาน ในประชากรอายุ 15 ปี ร้อยละ 69.11 ร้อยละ 90 2.. ร้อยละของการคัดกรองความดัน ในประชากรอายุ 15 ปี ร้อยละ 72.12 3.ร้อยละของผู้ที่ได้รับการตรวจ HbA1C ร้อยละ 51.90 ร้อยละ 60 4.ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานตรวจ HbA1Cc น้อยกว่า 7 ร้อยละ 42.91 ร้อยละ 40 5.ร้อยละของผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันได้ดี 140/90 ร้อยละ 54.64 6.ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่ได้รับการตรวจตา ร้อยละ 56.97 7.ร้อยละของผู้ป่วยบาหวานได้รับการการตรวจ CVD ร้อยละ 56.55 8.ร้อยละของผู้ป่วยความดันโบหิตสูงที่ได้รับการการตรวจ CVD ร้อยละ 56.72

Health Service plan สาขา ..............โรคไม่ติดต่อ ................................................................... ตัวชี้วัด ตัวชี้วัด Baseline data ค่าเป้าหมาย 9.ร้อยละกลุ่มเสี่ยง COPD ได้รับการคัดกรอง ร้อยละ 80 10.ร้อยละของโรงพยาบาลชุมชนที่มีคลินิก COPD ร้อยละ 100 11.ร้อยละของคลินิกอดบุหรี่ในโรงพยาบาล

สรุปผลการการดำเเนินการ ตารางที่ 1 สรุปผลการดำเนินงาน service plan เขตบริการสุขภาพที่ 1 สาขาโรคไม่ติดต่อ สรุปผลการการดำเเนินการ แนวทางแก้ไข service delivery การคัดกรองกลุ่มเสี่ยงต่ำกว่าเป้าหมาย การรักษาที่ได้มาตรฐานและค่าเป้าหมายยังต่ำกว่าค่าเป้าหมาย การคัดกรองภาวะแทรกซ้อนยังต่ำกว่าค่าเป้าหมาย รูปแบบการดำเนินการคลินิก COPD ยังไม่ชัดเจน -แต่ละหน่วยบริการ(CUP)เพิ่มการให้บริการ -แต่ละหน่วยบริการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานคลินิก COPD 2. Workforce มี case manager เบาหวานความดัน 92 คน มี system manager 20 คน ฝึกอบรม case และ system manager ให้ครบทุกหน่วยบริการ

ตารางที่ 2 สรุปผลการดำเนินงาน service plan เขตบริการสุขภาพที่ 1 สาขาโรคไม่ติดต่อ สรุปผลการดำเนินการ แนวทางแก้ไข 3. Information ระบบฐานข้อมูลโรคไม่ติดต่อระดับทุติยภูมิและตติยภูมิมีหลากลาย โปรแกรม แต่ละโปรแกรมไม่เชื่อมโยงกับฐานข้อมูล 43 แฟ้ม (ยกเว้น Hos xp)ทำให้การวิเคราะห์ข้อมูลคลาดเคลื่อนไม่ครบถ้วนสมบูรณ์ การลงข้อมูลไม่ครบถ้วนและยังไม่ถูกต้องเพราะความไม่เข้าใจ รหัส นิยาม ICD10ของผู้กรอกข้อมูลทำให้ผลงานต่ำ -แต่ละจังหวัดดำเนินการแก้ไขโดยการประสานกับงาน IT ของตัวเอง

-เพิ่ม Fundus camera อีก 7 เครื่อง สำหรับเชียงใหม่ 2 เครื่อง ตารางที่ 3 สรุปผลการดำเนินงาน service plan เขตบริการสุขภาพที่ 1 สาขาโรคไม่ติดต่อ สรุปผลการดำเนินการ แนวทางแก้ไข 4. Instrument เครื่องมือ (ครุภัณฑ์/สิ่งก่อสร้าง) Fundus camera มี 29 เครื่อง อัตราการใช้เครื่องต่อผู้ป่วย 3,000 – 5,000 คน/ 1 เครื่อง หลายจังหวัดดำเนินงานสิ้นสุดปีงบประมาณเครื่องชำรุดกำลังส่งซ่อม -เพิ่ม Fundus camera อีก 7 เครื่อง สำหรับเชียงใหม่ 2 เครื่อง สำหรับ ลำปาง ลำพูน พะเยา แพร่ น่าน จังหวัดละ 1 เครื่อง

ขอรับการสนับสนุนระดับเขต งบประมาณในการอบรมพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่บุคลากรสาธาณสุขจำนวน 2 ล้านบาท งบประมาณในการจัดซื้อ fundus camera เพิ่ม 7 เครื่อง สำหรับเชียงใหม่ 2 เครื่อง สำหรับ ลำปาง ลำพูน พะเยา แพร่ น่าน จังหวัดละ 1 เครื่อง (ที่ประชุมเมื่อวาน 27 ก.ย. 57 ให้แต่ละจังหวัดดำเนินการเอง)