NCD เขตบริการสุขภาพที่ 1
P F M S,A การคัดกรอง คลินิกคุณภาพ การรักษาที่ได้มาตรฐาน + ค่าเป้าหมาย การคัดกรองภาวะแทรกซ้อน การแก้ไขปัญหาตามสภาพข้อมูล คลินิกคุณภาพ ท้องถิ่น ภาคประชาชน P F M S,A
Health Service plan สาขา ..............โรคไม่ติดต่อ ................................................................... ตัวชี้วัด ตัวชี้วัด Baseline data ค่าเป้าหมาย ร้อยละของการคัดกรองเบาหวาน ในประชากรอายุ 15 ปี ร้อยละ 69.11 ร้อยละ 90 2.. ร้อยละของการคัดกรองความดัน ในประชากรอายุ 15 ปี ร้อยละ 72.12 3.ร้อยละของผู้ที่ได้รับการตรวจ HbA1C ร้อยละ 51.90 ร้อยละ 60 4.ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานตรวจ HbA1Cc น้อยกว่า 7 ร้อยละ 42.91 ร้อยละ 40 5.ร้อยละของผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันได้ดี 140/90 ร้อยละ 54.64 6.ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่ได้รับการตรวจตา ร้อยละ 56.97 7.ร้อยละของผู้ป่วยบาหวานได้รับการการตรวจ CVD ร้อยละ 56.55 8.ร้อยละของผู้ป่วยความดันโบหิตสูงที่ได้รับการการตรวจ CVD ร้อยละ 56.72
Health Service plan สาขา ..............โรคไม่ติดต่อ ................................................................... ตัวชี้วัด ตัวชี้วัด Baseline data ค่าเป้าหมาย 9.ร้อยละกลุ่มเสี่ยง COPD ได้รับการคัดกรอง ร้อยละ 80 10.ร้อยละของโรงพยาบาลชุมชนที่มีคลินิก COPD ร้อยละ 100 11.ร้อยละของคลินิกอดบุหรี่ในโรงพยาบาล
สรุปผลการการดำเเนินการ ตารางที่ 1 สรุปผลการดำเนินงาน service plan เขตบริการสุขภาพที่ 1 สาขาโรคไม่ติดต่อ สรุปผลการการดำเเนินการ แนวทางแก้ไข service delivery การคัดกรองกลุ่มเสี่ยงต่ำกว่าเป้าหมาย การรักษาที่ได้มาตรฐานและค่าเป้าหมายยังต่ำกว่าค่าเป้าหมาย การคัดกรองภาวะแทรกซ้อนยังต่ำกว่าค่าเป้าหมาย รูปแบบการดำเนินการคลินิก COPD ยังไม่ชัดเจน -แต่ละหน่วยบริการ(CUP)เพิ่มการให้บริการ -แต่ละหน่วยบริการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานคลินิก COPD 2. Workforce มี case manager เบาหวานความดัน 92 คน มี system manager 20 คน ฝึกอบรม case และ system manager ให้ครบทุกหน่วยบริการ
ตารางที่ 2 สรุปผลการดำเนินงาน service plan เขตบริการสุขภาพที่ 1 สาขาโรคไม่ติดต่อ สรุปผลการดำเนินการ แนวทางแก้ไข 3. Information ระบบฐานข้อมูลโรคไม่ติดต่อระดับทุติยภูมิและตติยภูมิมีหลากลาย โปรแกรม แต่ละโปรแกรมไม่เชื่อมโยงกับฐานข้อมูล 43 แฟ้ม (ยกเว้น Hos xp)ทำให้การวิเคราะห์ข้อมูลคลาดเคลื่อนไม่ครบถ้วนสมบูรณ์ การลงข้อมูลไม่ครบถ้วนและยังไม่ถูกต้องเพราะความไม่เข้าใจ รหัส นิยาม ICD10ของผู้กรอกข้อมูลทำให้ผลงานต่ำ -แต่ละจังหวัดดำเนินการแก้ไขโดยการประสานกับงาน IT ของตัวเอง
-เพิ่ม Fundus camera อีก 7 เครื่อง สำหรับเชียงใหม่ 2 เครื่อง ตารางที่ 3 สรุปผลการดำเนินงาน service plan เขตบริการสุขภาพที่ 1 สาขาโรคไม่ติดต่อ สรุปผลการดำเนินการ แนวทางแก้ไข 4. Instrument เครื่องมือ (ครุภัณฑ์/สิ่งก่อสร้าง) Fundus camera มี 29 เครื่อง อัตราการใช้เครื่องต่อผู้ป่วย 3,000 – 5,000 คน/ 1 เครื่อง หลายจังหวัดดำเนินงานสิ้นสุดปีงบประมาณเครื่องชำรุดกำลังส่งซ่อม -เพิ่ม Fundus camera อีก 7 เครื่อง สำหรับเชียงใหม่ 2 เครื่อง สำหรับ ลำปาง ลำพูน พะเยา แพร่ น่าน จังหวัดละ 1 เครื่อง
ขอรับการสนับสนุนระดับเขต งบประมาณในการอบรมพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่บุคลากรสาธาณสุขจำนวน 2 ล้านบาท งบประมาณในการจัดซื้อ fundus camera เพิ่ม 7 เครื่อง สำหรับเชียงใหม่ 2 เครื่อง สำหรับ ลำปาง ลำพูน พะเยา แพร่ น่าน จังหวัดละ 1 เครื่อง (ที่ประชุมเมื่อวาน 27 ก.ย. 57 ให้แต่ละจังหวัดดำเนินการเอง)