เสียงเป็นองค์ประกอบหนึ่งที่นิยมนำมาใช้งานด้าน มัลติมีเดีย ซึ่งสามารถถ่ายทอดอารมณ์ไปยังผู้ชมได้ เช่น การใช้เสียงระทึกใจเพื่อทำให้เกิดความตื่นเต้น หรือเสียงนกร้องเพื่อสร้างบรรยากาศตามธรรมชาติ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง วิชา ฟิสิกส์ เรื่อง คลื่น ระดับช่วงชั้นที่ 4
Advertisements

เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์
Chapter5:Sound (เสียง)
หน่วยแสดงผลข้อมูลออก (Output)
องค์ประกอบของนาฏศิลป์ไทย
การแกว่ง ตอนที่ 2.
การเขียน STORYBOARD STORYBOARD.
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์.
องค์ประกอบของมัลติมีเดีย
องค์ประกอบและประโยชน์ของมัลติมิเดีย
เทคนิคการใช้โปรแกรม Sound Forge ในการบันทึกและตัดต่อเสียง
การสื่อสารข้อมูล.
RAM (Random Access Memory)
Ultrasonic sensor.
Multimedia การบรรยายทางวิชาการ เรื่อง
เครื่องเสียงเพื่อการศึกษา
ไมโครโฟน (Microphone)
DSL : Digital Subscriber Line
การนำเสนอสื่อประสม.
บทที่ 3 ในการเชื่อมต่อเครือข่าย
Multimedia และระบบความจริงเสมือน Virtual Reality, VR
โสตทัศนูปกรณ์ประเภทเครื่องเสียง
1. งานบริการเคเบิ้ลทีวี 2. งานบริการโทรทัศน์วงจรปิด
SPEAKER & 3D AUDIO SPEAKER..? 3D AUDIO..? API หัวใจของพลังเสียง DIRECTSOUND 3D A3D (API ที่เป็นอดีต) EAX ความรุ่งโรจน์ของเสียง 3D อ้างอิง.
มารู้จักคอมพิวเตอร์กันเถอะ มารู้จักคอมพิวเตอร์กันเถอะ
การประยุกต์ ใช้งานมัลติมีเดีย
การประยุกต์ ใช้งานมัลติมีเดีย
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ระบบการสื่อสารข้อมูล (Data Communication System)
ความหมายและชนิดของคลื่น
วัสดุไม่ตีพิมพ์.
บทที่ 3 การส่งผ่านข้อมูล และการอินเตอร์เฟซ
สมบัติของคลื่น 1. การสะท้อน 2. การหักเห 3. การแทรกสอด 4. การเลี้ยวเบน.
การตรวจสอบโฆษณาทางคลื่นวิทยุ
การสื่อสารข้อมูล Data Communication Chapter 10 วชิรธรรมสาธิต
หน่วยนำข้อมูลเข้าและออก Input Unit And Output Unit
ระบบการสื่อสารข้อมูลและโครงข่ายโทรคมนาคม
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
การ นำเสนอผลงาน อาจารย์นพรัตน์ วินิชาคม แผนกคอมพิวเตอร์กราฟิกและ เทคโนโลยีสารสนเทศ Tel / Facebook : Tel / Facebook.
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) กฎของโอห์ม การคำนวณและการวัด
ด. ช. ภานุเดชขัดอุโมงค์ เลขที่ 1 ด. ช. นันทวัฒน์ ลิยอง เลขที่ 9 ด. ช. วสันต์ นามะยอม เลขที่ 12 ด. ช. ศักรินทร์ ทาแกง เลขที่ 14 ด. ช. สุทธิภัทร ปัญจมา เลขที่
จัดทำโดย 1. ด. ญ. ศุภรดา จายประมูล เลขที่ ด. ญ. เกสรา อินลม เลขที่ ด. ญ. ณีรนุช สมศักดิ์ เลขที่ 18 ชั้น ม.3/8 ชั้น ม.3/8.
ผู้จัดทำ ด. ช. อดิรุจ อินต๊ะ เลขที่ 14 ด. ช. อดิรุจ ใจปาละ เลขที่ 15 ด. ญ. จินตพร กันทะ เลขที่ 23 ด. ญ. จิราภา สาทร เลขที่ 25 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/6.
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาระนอง
สรุปหน่วยที่ 4 ใบความรู้ที่ 1 โดย ด. ช. จิรายุทธ กาบปัญโญ เลขที่ 3 ด. ช. ณัฐชนน ทาแกง เลขที่ 4 ด. ช. ดนุพงษ์ ราชสม เลขที่ 5 ด. ช. ทินกร ตาสาย เลขที่ 6.
เรื่อง เสียง (Sound) หรือ ออดิโอ (Audio)
อ. ปริญญา น้อยดอนไพร (V ) เทคโนโลยี มัลติมีเดีย (MULTIMEDIA TECHNOLOGY) บทที่ 2 วิวัฒนาการมัลติมีเดีย.
ซ่อมเสียง.
ประเภทของไฟล์เสียงเสียง
เรื่องเสียง จัดทำโดย ด. ช. เกชาบำรุงปรีชา ด. ช. เฉลิมพลวงค์ศรี ด. ช. เมธิชัยใจมาเชื่อ นาย ธนบดีปิงจันทร์ นาย คริษฐ์วงค์ดาว นักเรียนชั้น ม.3 เสนอ คุณครู
หน้าที่และอุปกรณ์คอมพิวเตอร์
โรงเรียนสายมิตรเทคโนโคราช
เรื่อง เสียง (Sound)หรือ ออดิโอ (Audio)
1. ด. ช. ปิยวัฒน์ หมื่นเกี๋ยง เลขที่ 7 2. ด. ช. ศิรวิทย์ กิติ เลขที่ ด. ญ. กรกมล ตุ้ยเปง เลขที่ ด. ญ. กัลญารัตน์ เสาร์แก้ว เลขที่ 39 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่
ด. ญ. มัญชุพร ตันติประเสริฐ เลขที่ 32 ม 3/6 ด. ญ. ศริลักษณ์ ก๋าพรม เลขที่ 36 ม 3/6 ด. ช. ปุญญธิป โกวฤทธิ์ เลขที่ 9 3/6 ด. ช จักรกฤษ สมศักดิ์ เลขที่ 2 3/6.
เสียง จัดทำโดย 1. เด็กหญิง จุฑาทิพย์ ใจ พนัส เลขที่ เด็กหญิง พัชราวดี กวางแก้ว เลขที่ เด็กหญิง อรวรา ผุด ผ่อง เลขที่ 38.
บทที่6 การควบคุมคุณภาพและปริมาณ
1. ด. ช. ลัทธพล สุขใสบูลย์ เลขที่ 11 ชั้น ม. 3/5 2. ด. ช. เอกชัย จันทร์เป็ง เลขที่ 21 ชั้น ม. 3/5 3. ด. ช. ณรงค์ฤทธิ์ มูลกลาง เลขที่ 6 ม.3/5 4. ด. ช. ชินวิวัฒน์
เรื่อง เสียง (Sound) หรือ ออดิโอ (Audio)
เรื่อง เสียง (Sound) หรือ ออดิโอ (Audio)
จัดทำโดย ด.ช.ดนพล ศรีศักดา เลขที่ 2 ด.ช.ธนภัทร เอโปะ เลขที่ 5
หลักการบันทึกเสียง.
การบันทึกข้อมูล สุรพล บุญลือ ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสาร การศึกษา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและ เทคโนโลยี ม. เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
รายวิชา การจัดการฐานข้อมูล
การสื่อสาร ข้อมูล (Data Communication) การสื่อสารข้อมูล (Data Communications) กระบวนการถ่ายโอนหรือ แลกเปลี่ยนข้อมูลกันระหว่างผู้ส่ง และผู้รับ โดยผ่านช่องทางสื่อสาร.
สรูปบทที่ 1 จัดทำโดย ด. ญ. มัญชุพร ตันติประเสริฐ เลขที่ 32 ม 3/6 ด. ญ. ศริลักษณ์ ก๋าพรม เลขที่ 36 ม 3/6 ด. ช. ปุญญธิป โกวฤทธิ์ เลขที่ 9 3/6 ด. ช จักรกฤษ.
การสื่อสารข้อมูล จัดทำโดย นางสาวกาญจนา แสงเพ็ชร
บทที่ 7 : ออดิโอ (Audio) สธ212 ระบบสื่อประสมสำหรับธุรกิจ
Chapter5:Sound (เสียง)
เสียง.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เสียงเป็นองค์ประกอบหนึ่งที่นิยมนำมาใช้งานด้าน มัลติมีเดีย ซึ่งสามารถถ่ายทอดอารมณ์ไปยังผู้ชมได้ เช่น การใช้เสียงระทึกใจเพื่อทำให้เกิดความตื่นเต้น หรือเสียงนกร้องเพื่อสร้างบรรยากาศตามธรรมชาติ ดังนั้น การเลือกใช้เสียงกับมัลติมีเดียอย่างเหมาะสม ย่อมสร้างความรู้สึกที่ดีและน่าประทับใจให้กับผู้ชม งานนำเสนอได้

เสียง (Sound) อยู่ในรูปแบบของพลังงาน (Energy) เหมือนกับ พลังงานความร้อน (Heat) และพลังงานแสง (Light) ที่สามารถ ถ่ายทอดจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งผ่านตัวกลางที่เกิดจากการสั่น (Vibrating) ของวัตถุ และแปลงพลังงานที่อยู่ในรูปแบบคลื่นที่ ประกอบด้วยแอมพลิจูด (Amplitude) และความถี่ (Frequency) ของคลื่นเสียง ซึ่งเสียงมีหน่วยวัดเป็นเดซิเบล

การนำเสียงจากธรรมชาติมาใช้งานบนคอมพิวเตอร์ต้องผ่าน กระบวนการบันทึก (Record) จัด (Manipulate) และเล่นเสียง (Playback) แต่ก่อนที่จะผ่านกระบวนการเหล่านี้จำเป็นต้องรับและ แปลงเสียงให้อยู่ในรูปแบบที่เหมาะสม โดยใช้เครื่องมือสำหรับ ประมวลผลและแปลงเสียงต้นฉบับให้เป็นสัญญาณทางไฟฟ้า

ประเภทของเสียงสามารถแบ่งได้ 2 ประเภท คือ - แบบมิดี้ (MIDI: Musical Instrument Digital Interface ) คือเสียงที่แทนเครื่องดนตรีชนิดต่างๆใช้กับเครื่องดนตรีอิเล็กทรอนิกส์ และคอมพิวเตอร์ - แบบดิจิตอล (Digital Audio) คือสัญญาณเสียงที่ส่งมากจาก ไมโครโฟนหรือเล่นเทป หรือจากแหล่งกำเนิดเสียงต่างๆ ทั้งจาก ธรรมชาติ และที่สร้างขึ้นเอง และนำข้อมูลที่ได้มาแปลงเป็นสัญญาณ ดิจิตอล

อุปกรณ์ที่สำคัญและเกี่ยวข้องกับการควบคุมและบันทึกไฟล์เสียง ได้แก่ การ์ดเสียง (Sound Card) อุปกรณ์ถ่ายทอดสัญญาณเสียง (Audio Transmission) และอุปกรณ์บันทึกเสียง (Audio Recording Device) การ์ดเสียง (Sound Card)

เสียงที่นำมาใช้กับงานด้านมัลติมิเดียมีหลาย ประเภท ได้แก่ เสียงพูด (Speech) เสียงเพลง (Music) เสียงเอฟเฟ็กต์ (Sound Effect)