ยาเสพติด ยาเสพติด คนรุ่นใหม่ ร่วมต้านภัย เราจะป้องกันยาเสพติด

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงงาน เรื่อง การมีเพศสัมพันธ์ก่อนอันสมควร
Advertisements

สุขภาพจิต.
สาเหตุของการติดยาเสพติด
สื่อประกอบการเรียนรู้
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสมองเสื่อม
ฝึกปฏิบัติการให้การบำบัดแบบสั้น
องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านบึง
แผนภูมิที่ 1 เปรียบเทียบความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับปัญหาทางสังคม
"กิจกรรมพัฒนานักศึกษาเพื่อลด ละ เลิก อบายมุข"
ด.ญ.กุลจิรา ยอดมณี เลขที่ 19 ม.3/1
การศึกษารายกรณี.
ด.ญ.ปรางค์วลี สีดอกไม้ ชั้น ม.3/2 เลขที่ 15
ด.ช.ประธาน โสมาสี ม.3/1 เลขที่06 เสนอ คุณครู ทัศนีย์ ไชยเจริญ
ชื่อ เด็กหญิง รัตนา ศรีรัตน์ ชั้นม.3/2 เลขที่4
การดำเนินงานสุขศึกษา ในชุมชน
ทัศนคติและพฤติกรรมการเที่ยวกลางคืน
พัฒนาการทางสังคมของวัยรุ่น
เรื่อง อารมณ์ในวัยเด็ก
The Career Within You. The Career Within You เหตุผลในการเลือกงานของแต่ละคน ตามรอยครอบครัว ตามคำแนะนำของอาจารย์ที่ตนเคารพ ได้รับคำแนะนำจากคนที่หวังดีและให้เราประสบความสำเร็จ.
เพื่อเป็นการทำความเข้าใจตนเองและผู้อื่น พื้นฐานในการสร้างมนุษยสัมพันธ์
การวิเคราะห์ปัญหาวัยรุ่นและการช่วยเหลือ
สุขภาพจิต และการปรับตัว
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
ปัญหาที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงในวัยรุ่น
การดำเนินการต่อสู้ เพื่อเอาชนะยาเสพติด จังหวัดยะลา.
พันตำรวจเอกหญิง จันทนา วิธวาศิริ
โครงการพัฒนารูปแบบการลดทัศนคติการตีตรา/รังเกียจเด็กที่ได้รับผลกระทบจากพ่อแม่ที่ติดเชื้อและเจ็บป่วยด้วยโรคเอดส์ในโรงเรียนระดับประถมศึกษา-มัธยมศึกษาปี
1. ชื่อผลงาน: ส่งเสริมการเข้าถึงบริการอย่างเป็นมิตร
การดูแล ผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
บทที่ 9 โรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพ
วัยรุ่นกับปัจจัยทางสังคมที่ส่งผลต่อพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ
ภาวะตัวเหลืองในทารกแรกเกิด
การปรับเปลี่ยนเพื่อส่งเสริมการให้นมแม่
การก้าวทันยาเสพติดของวัยรุ่น
อ. อัศวินี นามะกันคำ ภาควิชาการพยาบาลจิตเวช
สุขภาพจิต ภาวะความสมบูรณ์ของจิตใจ มีพัฒนาการด้านจิตใจ และอารมณ์อย่างสมบูรณ์ เหมาะกับวัย.
*ppt.2 ระบบดูแลเฝ้าระวังโรคซึมเศร้า การอบรมการดูแลเฝ้าระวังโรคซึมเศร้า สำหรับผู้ปฏิบัติในพื้นที่ สนับสนุนโดย กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข.
นางรสนันท์ มานะสุข ผู้วิจัย วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการเชียงราย
เทคนิคการให้คำปรึกษาวัยรุ่น
ห่วงลูกหลาน รักในหลวง เด็กไทย ห่างไกลยาเสพติด ร่วมกันต้าน ยาเสพติด.
บทบาทอาสาสมัครผู้สูงอายุ
นายวิเชียร มีสม 1 วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง สิ่งเสพติดให้โทษ เรื่อง สิ่งเสพติดให้โทษ.
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน ของผู้ช่วยพยาบาล(1)
นิยาม ศูนย์ให้คำปรึกษาคุณภาพ (Psychosocial Clinic) หน่วยบริการระดับโรงพยาบาลชุมชนที่มีการจัดบริการดูแล ช่วยเหลือทางสังคมจิตใจทุกกลุ่มวัย โดยมีองค์ประกอบ.
โครงการมหกรรมกีฬาต้านยาเสพติด อบต.น้ำผุด คัพ ครั้งที่ 10 ประจำปี 2551
Succsess story กลุ่มงานฟื้นฟูสมรรถภาพหญิง
CQI งานผู้ป่วยในหญิง เรื่อง
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
สุขภาพจิตที่ดี โรคจิต โรคประสาท การฝึกนั่งสมาธิ ข้อแตกต่าง โรคจิต
นายวิเชียร มีสม 1 วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง สิ่งเสพติดให้โทษ เรื่อง สิ่งเสพติดให้โทษ.
สารเสพติด จัดทำโดย ด.ญ. สุวรรณษา วงค์ขัติยะ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/10 เลขที่ 1 เสนอ อาจารย์ อรอุมา พงค์ธัญญะดิลก.
การรักษาและดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะบกพร่องทางจิต
เรื่อง การปฏิบัติตนในวัยรุ่น
กิจกรรมการจัดการกับ อารมณ์และความเครียด.
วัณโรค อยู่ใกล้ตัวคุณ...แค่นี้เอง.
กฎหมายชุมชนและประเทศชาติ
ความแตกต่างระหว่างวัยรุ่นชายและวันรุ่นหญิง
แล้วคุณเป็นใคร ?.
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43101
รายงาน เรื่อง ทักษะปฏิเสธทางเพศ โดย เด็กหญิง สมัชญา ใจรักษา เลขที่ 6 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เสนอ คุณครู ทัศนีย์ ไชยเจริญ โรงเรียนวัดพวงนิมิต สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสระแก้วเขต.
การบริหารจัดการค่าย เพื่อให้เกิดความสะดวก มี ความพร้อม ไม่เกิดความเสี่ยง ต่างๆ และเพื่อให้การดำเนินค่ายบรรลุ เป้าหมายที่ตั้งไว้อย่างมีประสิทธิภาพ.
เด็กปลอด จัดทำโดย ด. ช. อาทิตย์ ภูมิภู เขียว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เลขที่ 2.
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
การปฏิบัติตัวในวัยรุ่น
วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
การปฏิบัติตัวของวัยรุ่น
ครูวิเชียร มีสม 1 วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 สอนโดย นายวิเชียร มีสม พ หน่วยการเรียนที่ 1 การวางแผนดูแลสุขภาพของ บุคคลในชุมชนและสังคม.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ยาเสพติด ยาเสพติด คนรุ่นใหม่ ร่วมต้านภัย เราจะป้องกันยาเสพติด คนรุ่นใหม่ ร่วมต้านภัย เราจะป้องกันยาเสพติด ได้อย่างไร...? หากท่านประสบปัญหายาเสพติด และไม่อาจแก้ไขได้ด้วยตนเอง อาจขอรับคำปรึกษาหรือแนะนำ หรือขอรับบริการบำบัดรักษายาเสพติดได้จาก ยาเสพติด ป้องกันตนเอง โดยไม่ทดลองเสพยาเสพติดทุกชนิดถ้ามีปัญหา หรือไม่สบายใจอย่างเก็บไว้คนเดียว ควรปรึกษาพ่อ แม่ ครู อาจารย์ รู้จักใช้เวลาว่างให้มีประโยชน์ เช่น อ่านหนังสือ เล่นกีฬาหรือทำงานอดิเรกต่าง ๆ ระมัดระวังใช้ยาและ ศึกษาให้เข้าใจถึงโทษภัยของยาเสพติด ป้องกันครอบครัว โดยสอดส่องดูแลเด็ก และบุคคลในครอบครัวอย่าให้เกี่ยวข้องกับยาเสพติดอบรมสั่งสอนให้รู้ถึงโทษภัยของยาเสพติด ดูแลเรื่องการคบเพื่อน และที่สำคัญที่สุดคือทุกคน ในครอบครัวควรสร้างความรักความเข้าใจและความสัมพันธ์อันดีต่อกัน ป้องกันชุมชน หากพบผู้ติดยาเสพติดควรช่วยเหลือแนะนำให้เข้ารับการบำบัดรักษาโดยเร็ว เมื่อรู้ว่าใครผลิต นำเข้า ส่งออกหรือจำหน่ายยาเสพติด ควรแจ้งให้เจ้าหน้าที่ตำรวจเพื่อจะได้ ดำเนิน การกวาดล้างและปราบปรามมิให้ยาเสพติดกระจายไปสู่ชุมชน คลินิกแสงส่องใจ กลุ่มงานจิตเวช โรงพยาบาลอุตรดิตถ์ โทร (055) 411 064 ต่อ 2109, 2110 ฟรี - ค่าบำบัดรักษาและค่าบริการ ขอรับบริการได้ในวัน –เวลาราชการ ทุกวันพฤหัสบดี เวลา 13.00-16.00 น. ยาเสพติด ด้วยความปรารถนาให้ท่านมีสุขภาพดี จาก คลินิกแสงส่องใจ กลุ่มงานจิตเวช โรงพยาบาลอุตรดิตถ์ โทร.(055) 411064 ต่อ 2109,2110 อ้างอิง กองกำกับการนโยบายและแผน กองบังคับการอำนวยการ กองบัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติด

ยาเสพติด คืออะไร….? ประเภทยาเสพติด….? ทำไมจึงติดยาเสพติด...? การสังเกตผู้ติดยาเสพติด….? ยาเสพติด หมายถึง ยาหรือสารเคมีหรือวัตถุใด ๆ ซึ่งเมื่อเสพเข้าสู่ร่างกายไม่ว่าจะโดยการกิน ดม สูบ ฉีด หรือด้วยประการใด ๆ แล้ว จะทำให้เกิดผลต่อร่างกายและจิตใจในลักษณะสำคัญ เช่น * ต้องเพิ่มขนาดการเสพมากขึ้นเรื่อย ๆ * มีอาการอยากยาเมื่อขาดยา * มีความต้องการเสพทั้งทางร่างกายและจิตใจอย่างรุนแรงและต่อเนื่อง * สุขภาพโดยทั่วไป จะทรุดโทรมลง ยาเสพติดเมื่อเกิดการเสพติดแล้ว จะมีผลกระทบต่อร่างกายและจิตใจซึ่งทำให้ลักษณะและความประพฤติของผู้เสพเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม ที่อาจสังเกตพบได้ คือ - สุขภาพทรุดโทรม ซูบผอม - อารมณ์ฉุนเฉียวหรือเงียบขรึม ผิดปกติ - ถ้าผู้เสพเป็นนักเรียน นักศึกษา มักพบว่าไม่สามารถ เรียนหนังสือได้หรือผลการเรียนแย่ลง ถ้าเป็นคนทำงาน มักพบว่าประสิทธิภาพในการทำงานลดลงหรือไม่ยอม ทำงานเลย - ชอบใส่เสื้อแขนยาวตลอดเวลา เพื่อปกปิดรอยเข็มที่ ฉีดยาตรงท้องแขนด้านใน - ขอเงิน จากผู้ปกครองเพิ่มหรือยืมเงินจากเพื่อนฝูง เสมอเพื่อนำไปซื้อยาเสพติด - ขโมยของ ฉกชิงวิ่งราว เพื่อหาเงินไปซื้อยาเสพติด จำแนกตามการออกฤทธิ์ต่อระบบประสาท แบ่งเป็น 4 ประเภท 1. ประเภทกดประสาท ได้แก่ ฝิ่น มอร์ฟีน เฮโรอีน ยานอนหลับ ยาระงับประสาท ยากล่อมประสาท เครื่องดื่มมึนเมาทุกชนิด รวมทั้งสารระเหย ประเภทต่างๆ เช่น ทินเนอร์ แล็กเกอร์ น้ำมันเบนซิน กาว เป็นต้น มักพบว่าผู้เสพติดมีร่างกาย ซูบซีด ผอมเหลือง อ่อนเพลีย ฟุ้งซ่าน อารมณ์ เปลี่ยนแปลงง่าย 2. ประเภทกระตุ้นประสาท ได้แก่ แอมเฟตามีน (ยาบ้า) กระท่อม โคเคน เอ็กซ์ตาซี (ยาอี) มักพบว่าผู้เสพติด จะมีอาการหงุดหงิดกระวนกระวายจิตสับสนคลุ้มคลั่ง หวาดระแวง 3. ประเภทหลอนประสาท ได้แก่ แอลเอสดี ดีเอ็มที และเห็ดขี้ควาย เป็นต้น ผู้เสพติดจะมีอาการประสาท หลอน ทางตา หู จมูก และลิ้น เช่นฝันเฟื่อง เห็นแสง วิจิตรพิสดาร หูแว่วได้ยินเสียง ประหลาด หรือเห็น ภาพหลอนที่น่าเกลียดน่ากลัว ควบคุมคนเองไม่ได้ ในที่สุดมักป่วยเป็นโรคจิต 4. ประเภทออกฤทธิ์ผสมผสาน อาจกดกระตุ้น หรือ หลอนประสาทร่วมกันได้ แก่ กัญชาผู้เสพติดมักจะเกิด อาการประสาทหลอน เห็นภาพลวงตา หูแว่วหรือมี อาการหวาด ระแวงความคิดสับสน ควบคุมตนเองไม่ได้และป่วยเป็นโรคจิตในที่สุด ทำไมจึงติดยาเสพติด...? * ความอยากรู้ อยากลองด้วยความคึกคะนอง * ถูกชักชวนหรือเพื่อต้องการให้เป็นที่ยอมรับจากกลุ่มเพื่อน * มีความเชื่อในทางที่ผิดเช่น เชื่อว่ายาเสพติดบางชนิด อาจช่วยให้สบายใจลืมความทุกข์หรือช่วยให้ทำงานได้มาก ๆ หรือขาดความระมัดระวังใน การใช้ยา * สภาพสิ่งแวดล้อมถูกกดดัน จากปัญหาครองครัว เศรษฐกิจและสังคม * ขาดความรู้เรื่องยาและยาเสพติด