มาตรฐานฟาร์มเลี้ยงสัตว์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รัตนา ธีระวัฒน์ มยุรฉัตร เบี้ยกลาง วราลักษณ์ ตังคณะกุล
Advertisements

“แนวทางในการปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำ”
โรงอาหาร/ที่รับประทานอาหาร
ห้องปฏิบัติการต่างๆ.
สถานการณ์และนโยบายการจัดการมูลฝอยติดเชื้อ
ความกระด้างทั้งหมดของน้ำ
หน่วยประปา เรื่อง การควบคุมคุณภาพน้ำอุปโภค/บริโภค
องค์ประกอบพื้นฐานของฟาร์มเลี้ยงสัตว์
วิธีการเก็บตัวอย่างดิน
มาตรฐานสถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิง
สถานที่ตั้ง : หมู่ที่ 7 ตำบลรือเสาะ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส
ยินดีต้อนรับ สู่..ตึกโรคปอด.
สารมลพิษ โชคชัย บุตรครุธ.
มลพิษทางอากาศ โชคชัย บุตรครุธ.
เทคโนโลยีชีวภาพ แก๊สชีวภาพ นำเสนอโดย 1. นายทรงศักดิ์ ศรีสันติสุข 2
การเลี้ยงปลากะพงขาว.
การเลี้ยงปลาดุกบิ๊กอุยในบ่อซิเมนต์
ผลการปฏิบัติงานด้านสุขภาพสัตว์
โรคขาดอาหารและ/ พยาธิ
1) สุขลักษณะของสถานที่ตั้งและอาคารผลิต 1.1 ที่ตั้งและสิ่งแวดล้อม 1.2 อาคารผลิต • บริเวณผลิต • พื้น ฝาผนัง และเพดาน • ระบบระบายอากาศและแสงสว่าง • การป้องกันแมลง.
อย่างถูกหลักสุขาภิบาล
หลักสูตรการอบรมครูผู้ดูแลเด็ก
การล้างตลาดตามหลักสุขาภิบาล
ส่วนวิจัยต้นน้ำ สำนักอนุรักษ์และจัดการต้นน้ำ
การเตรียมชุมชน ก่อนพ่นสารเคมี
เทคนิคการพ่นสารเคมี สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5.
รายละเอียดลักษณะตัวชี้วัดความสำเร็จกิจกรรมและผลการดำเนินงานควบคุมรายโรค โรคที่สำคัญตามนโยบายกระทรวงสาธารณสุข.
เทคนิคการพ่นสารเคมี โดย ดอกรัก ฤทธิ์จีน
ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่ 24 สิงหาคม 2552
การทำธุรกิจแบบยั่งยืน การตลาดแบบแม่ไก่อารมณ์ดี
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรมเรื่อง มาตรการคุ้มครองความปลอดภัยในการประกอบกิจการโรงงาน ขุด ตัก ลอกหรือดูดทรายหรือดินในที่ดินกรรมสิทธิ์ สำหรับใช้ในการก่อสร้าง.
ศูนย์เฝ้าระวังการเจ็บป่วยจากความร้อน รพ.พระมงกุฎเกล้า
เรื่อง เครื่องดูดฝุ่น
มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
โดยนางสาวจงจิตร์ นีรนาทเมธีกุล ผู้อำนวยการสำนักงานสิ่งแวดล้อมภาคที่ 16
สมาคมผู้เพาะเลี้ยงปลาไทย
ไฮโดรโปนิกส์ (Hydroponics)
แหล่งที่มา : ณ 30 มค 50.
โดย โรงพยาบาลร้องกวาง
ของภาชนะสัมผัสอาหาร และมือ
วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม 1. ระบบประปา 2. ระบบรวบรวมและบำบัดน้ำเสีย
ภาวะโลกร้อน โดย น.ส.สมลักษณ์ แจ่มโฉม รหัส กลุ่ม 10.
การจัดการส้วมและ สิ่งปฏิกูลหลังภาวะน้ำลด
การอนุรักษ์พลังงาน ในระบบไฟฟ้าแสงสว่าง และอุปกรณ์สำนักงาน.
การปลูกอ้อยสูตร 100 ตันต่อไร่
การผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย (พืชผัก)
Wean-to-Finish (WTF) System
คำแนะนำเรื่อง โรค มือ เท้า ปาก สำหรับผู้ปกครอง.
การเลี้ยงปลาหางนกยูง
การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อไข้หวัดนก / ไข้หวัดใหญ่ในสถานพยาบาล
บริษัท AEK บรีดเดอร์ฟาร์ม สาขา ฟาร์มหนองเขิน
การพัฒนาระบบการผลิตไก่พื้นเมืองฯ เพื่อสร้างโอกาส
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
การจัดการสวนปาล์มน้ำมัน
มาตรการป้องกันแก้ไขผลกระทบฯ เบื้องต้น
หลักการและเหตุผล. - ปี หนอนกออ้อยระบาดขยาย
ข้อกำหนดด้านสุขาภิบาลอาหาร สำหรับร้านอาหาร
สถานที่ปรุง ประกอบ จำหน่ายอาหาร
มาตรการประหยัดพลังงาน
มลพิษน้ำการป้องกัน 2.
วัณโรค อยู่ใกล้ตัวคุณ...แค่นี้เอง.
การฝึกงานสัตวศาสตร์ 3.
สรุปผลการจัดตั้งตลาดเกษตรกร ของสหกรณ์การเกษตรสบปราบ จำกัด จังหวัดลำปาง
การใช้น้ำหมักชีวภาพ (Enzyme)
หลักการและแนวทางจัดการสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
ห้องมืด(Dark Room) ห้องที่ใช้ในการทำงานทาง photoใช้สำหรับ การล้างฟิล์ม และอัดขยายภาพห้องมืดใช้ป้องกันแสงเข้าไป ห้องมืด แบ่งเป็น 2 ประเภทคือ 1. ห้อง มืดสำหรับล้างฟิล์ม.
สรุปรายงานการเคลื่อนย้ายสัตว์ – ซากสัตว์ ของด่านกักกันสัตว์พิจิตร ประจำเดือน มกราคม 2554.
กระบวนการจัดการมูลฝอย การฝังกลบอย่างถูกหลักสุขาภิบาล
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

มาตรฐานฟาร์มเลี้ยงสัตว์ ระเบียบมาตรฐานฟาร์มไก่เนื้อ องค์ประกอบของฟาร์ม 1. ทำเลที่ตั้งของฟาร์ม 1.1 อยู่ห่างจากโรงฆ่าสัตว์ปีก อย่างน้อย 5 กิโลเมตร 1.2 ห่างจากตลาดนัดค้าสัตว์ปีก อย่างน้อย 5 กิโลเมตร

3.1 พื้นที่ในการเลี้ยงจะต้องมีเพียงพอ 2. ลักษณะของฟาร์ม 2.1 พื้นที่ของฟาร์ม ต้องมีเนื้อที่เหมาะสม 2.2 ฟาร์มจะต้องจัดแบ่งพื้นที่ฟาร์มเป็นสัดส่วน 2.3 ถนนภายในฟาร์ม 2.4 บ้านพักอาศัยและอาคารสำนักงาน 3. ลักษณะโรงเรือน 3.1 พื้นที่ในการเลี้ยงจะต้องมีเพียงพอ โรงเรือนระบบเปิด-น้ำหนักไก่เป็น รวมไม่เกิน 20 กิโลกรัม ต่อ 1 ตารางเมตร โรงเรือนระบบปิด-น้ำหนักไก่เป็น รวมไม่เกิน 34 กิโลกรัม ต่อ 1 ตารางเมตร 3.2 วัสดุที่ใช้ในการสร้างโรงเรือน

แผนผังฟาร์มไก่ http://www.ทองใบฟาร์ม.com/article/art_41980877.jpg

สำนักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์ กรมปศุสัตว์ 23/04/47

สำนักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์ กรมปศุสัตว์ 23/04/47

สำนักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์ กรมปศุสัตว์ 23/04/47

สำนักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์ กรมปศุสัตว์ 23/04/47

สำนักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์ กรมปศุสัตว์ 23/04/47

สำนักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์ กรมปศุสัตว์ 23/04/47

สำนักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์ กรมปศุสัตว์ 23/04/47

สำนักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์ กรมปศุสัตว์ 23/04/47

komchadluek.net

3.3 การระบายอากาศ 3.3.1 การหมุนเวียนอากาศ 3.3.2 ฝุ่นละออง 3.3 การระบายอากาศ 3.3.1 การหมุนเวียนอากาศ 3.3.2 ฝุ่นละออง 3.3.3 อุณหภูมิ ไก่เล็ก อยู่ในช่วง 32-33 องศาเซลเซียส ไก่ใหญ่ อยู่ในช่วง 20-30 องศาเซลเซียส 3.3.4 ความชื้นสัมพัทธ์ อยู่ในช่วงร้อยละ 50-80 3.3.5 ปริมาณแก๊ส 3.4 แสงสว่าง ความเข้มของแสงค่าเฉลี่ย ไม่น้อยกว่า 10 ลักซ์ (Lux.) ที่ระดับตัวไก่ มีระยะมืดให้ไก่ได้พักผ่อนอย่างน้อยวันละ 1 ชั่วโมง

การจัดการฟาร์ม 1. การจัดการโรงเรือน 1. การจัดการโรงเรือน ปิดพักโรงเรือนไม่น้อยกว่า 7 วัน ก่อนนำไก่ชุดใหม่เข้ามาเลี้ยง 2. การจัดการด้านเครื่องมือและอุปกรณ์ 2.1 อุปกรณ์การเลี้ยงแบบอัตโนมัติต้องมีการตรวจสภาพการทำงานทุกวัน 2.2 อุปกรณ์ให้แสงสว่างควรเป็นชนิดติดตั้งแล้วสัตว์ได้รับแสงตามเกณฑ์ที่กำหนด 3. การจัดการด้านบุคลากร 3.1 ผู้เลี้ยงไก่ โรงเรือนระบบเปิด - ผู้เลี้ยงไก่ 1 คน ดูแลไก่ไม่เกิน 10,000 ตัว โรงเรือนระบบปิด - ผู้เลี้ยงไก่ 1 คน ดูแลไก่ไม่เกิน 40,000 ตัว 3.2 สัตวบาล 1 คน ดูแลเป็ดไม่เกิน 400,000 ตัว 3.3 สัตวแพทย์ 1 คน รับผิดชอบในการดูแลไก่ไม่เกิน 5,000,000 ตัว

6. การจัดการด้านอาหารสัตว์ 4. คู่มือการจัดการฟาร์ม 5. ระบบการบันทึกข้อมูล 6. การจัดการด้านอาหารสัตว์ 6.1 อาหารสัตว์ ให้มีคุณภาพและมาตรฐานตามกฎหมาย 6.2 ภาชนะบรรจุและการขนส่งอาหารสัตว์สะอาด 6.3 มีการตรวจสอบคุณภาพอาหารสัตว์ 6.4 การเก็บรักษาอาหารสัตว์ถูกต้อง 6.5 การให้อาหาร 6.5.1 อาหารที่ใช้เลี้ยงไก่เนื้อ เหมาะสมกับอายุและพันธุ์ ปริมาณที่เพียงพอ ยาที่ใช้ผสมในอาหารต้องมีสัตวแพทย์รับรอง 6.5.2 การให้อาหารจะต้องใช้ภาชนะที่เหมาะสมและวางไว้อย่างเพียงพอในตำแหน่งที่เหมาะสม เพื่อป้องกันการปนเปื้อนและแย่งกันกิน

- ภาชนะให้อาหาร รางอาหาร 2-6 นิ้ว ต่อไก่ 1 ตัว ถาดอาหารไก่เล็ก 1 ถาด ต่อไก่ 100 ตัว ถาดอาหารไก่ใหญ่ แบบอัตโนมัติ 16-20 ถาด ต่อไก่ 1,000 ตัว ถังอาหารไก่ใหญ่ 30 ถัง ต่อไก่ 1,000 ตัว (โรงเรือนระบบเปิด) - เวลาให้อาหาร โรงเรือนระบบเปิด - ไก่เล็ก (0-3 สัปดาห์) ให้อาหารวันละไม่น้อยกว่า 3 ครั้ง - ไก่ใหญ่ ให้อาหารวันละไม่น้อยกว่า 2 ครั้ง โรงเรือนระบบปิด - ให้กินอาหารตลอดเวลา (ไก่จะหยุดกินช่วงปิดแสง)

6.6 การให้น้ำ 6.6.1 แหล่งน้ำ 6.6.2 ความสะอาดและคุณภาพน้ำ 6.6.3 ปริมาณน้ำเพียงพอ 6.6.4 การให้น้ำเหมาะสม - ภาชนะให้น้ำ รางน้ำ 2 เซนติเมตร ต่อไก่ 1 ตัว นิปเปิ้ล 1 หัว ต่อไก่ 10-15 ตัว กระติกน้ำ 14-20 กระติก ต่อไก่ 1,000 ตัว

การจัดการด้านสุขภาพสัตว์ 1. การป้องกันและควบคุมโรค 1. การป้องกันและควบคุมโรค 1.1 ยานพาหนะเข้า-ออกฟาร์ม 1.2 ความเข้มงวดในการทำลายเชื้อโรคบุคคลเข้า-ออกฟาร์ม 1.3 การป้องกันการสะสมของเชื้อโรคในเขตพื้นที่เลี้ยงสัตว์ 1.4 การสร้างภูมิคุ้มกันโรค 1.5 การควบคุมโรค 1.5.1 การจัดการไก่ป่วย 1.5.2 การจัดการไก่ตาย 1.5.3 การทำลายซากไก่ - การทำลายโดยการฝัง ฝังซากใต้ระดับผิวดินไม่น้อยกว่า 50 เซนติเมตร และมีฝาปิดมิดชิดไม่ให้สัตว์ไปคุ้ยเขี่ย - การทำลายโดยการเผา มีสถานที่เผาหรือเตาเผา เผาซากจนหมด 2. การบำบัดโรค

การจัดการด้านสิ่งแวดล้อม 1. เก็บซากไก่ออกจากเล้าทันทีทุกครั้ง 2. ทำลายสัตว์พาหะนำโรค ให้ทำลายโดยการฝังหรือเผา 3. วัสดุรองพื้นที่เปียก ให้ตักออกจากโรงเรือนทันที 4. วัสดุรองพื้นห้ามนำกลับมาใช้อีก ห้ามตกหล่น 5. น้ำบำบัดก่อนที่จะปล่อยลงในแหล่งน้ำสาธารณะ 6. พื้นที่รอบโรงเรือนรัศมีอย่างน้อย 3 เมตร ควรสะอาด 7. ต้องมีวิธีการกำจัดสัตว์พาหะนำโรคอย่างต่อเนื่อง