การเขียนซูโดโค้ด และการเขียนโฟลชาร์ต

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เรื่อง การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
Advertisements

อัลกอริทึม ITS101 2/2011.
แนวคิดในการเขียนโปรแกรม
รายวิชา ง40206 โครงสร้างข้อมูลและขั้นตอนวิธี
การจำลองความคิด รายวิชา ง40102 หลักการแก้ปัญหาและการโปรแกรม
การทำงานแบบเลือกทำ (Selection)
บทที่ ๖ หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
การเขียนผังงาน.
ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
Lecture No. 3 ทบทวนทฤษฎีและแบบฝึกหัด
การแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 หลักการแก้ปัญหา
Algorithms.
แผนผัง FlowChart Flow Chart คือ ขั้นตอนที่นำผลที่ได้จากการกำหนดและการ วิเคราะห์ปัญหามาเขียนเป็นแผนภาพหรือสัญลักษณ์ ประโยชน์ของผังงาน -ช่วยลำดับขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม.
หน่วยที่ 1 ระบบคอมพิวเตอร์
วิชา การออกแบบและพัฒนาซอฟต์แวร์
บทที่ 1. พื้นฐานความรู้ทั่วไป
การจำลองความคิด
Surachai Wachirahatthapong
การออกแบบโปรแกรมอย่างมีโครงสร้าง Structured Design
แนะนำรายวิชา STC0101 หลักการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ และอัลกอริทึม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
บทที่ 3 การวิเคราะห์โครงสร้าง Structure Analysis
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
Page: 1 การโปรแกรมเชิงวัตถุด้วยภาษา JAVA บุรินทร์ รุจจนพันธุ์.. ปรับปรุง 15 มิถุนายน 2550 Structure Programming มหาวิทยาลัยเนชั่น.
ผังงาน (Flowchart) มหาวิทยาลัยเนชั่น หลักการภาษาชุดคำสั่ง
วิธีการทางคอมพิวเตอร์
การออกแบบและการวิเคราะห์อัลกอริทึม
การเขียนผังงาน (Flowchart)
ใบงานที่ 5 สัญลักษณ์ (Flowchart)
หลักการแก้ปัญหา.
การเขียนผังงาน จุดประสงค์ 1.อธิบายความของผังงานได้
Flow Chart INT1103 Computer Programming
บทที่ 2 หลักการแก้ปัญหา
การออกแบบโปรแกรม ขั้นตอนการแก้ปัญหา การนิยามปัญหา (Problem definition)
การแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
Week 7 การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
2.1 วิธีแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer problem solving methods)
การออกแบบโครงสร้าง (Structured Design)
วิชา วิศวกรรมซอฟต์แวร์ (Software Engineering)
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
Introduction : Principle of Programming
การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
การเขียนผังงาน (Flowchart)
ขั้นตอนและหลักการวิเคราะห์
แผนผังความคิดรวบยอด เรื่อง ภาษาคอมพิวเตอร์ และตัวอย่างผังงาน
บทที่ 7 การวิเคราะห์งานและการโปรแกรม แบบมีโครงสร้าง
หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
ปัญหาคืออะไร. การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ไขปัญหา รายวิชา การโปรแกรมและการประยุกต์ (ง30222)
งานเทคโนโลยีสารสนเทศ โรงเรียนพนมเบญจา
หลักการแก้ปัญหา
หลักการแก้ปัญหา.
หน่วยที่ 4 หลักการแก้ปัญหากับภาษาคอมพิวเตอร์
นางสาวดลลดา สังฆสุวรรณ โรงเรียนสงวนหญิง จ.สุพรรณบุรี
บทที่ 2 แนวคิดในการเขียนโปรแกรม. ขั้นตอนการ พัฒนาโปรแกรม ในการพัฒนาโปรแกรมมีขั้นตอนหลัก 5 ขั้นตอน ซึ่งไม่ว่าจะทำการพัฒนาโปรแกรม ครั้งใดจะต้องปฏิบัติตามขั้นตอนเหล่านี้
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
เด็กหญิง นัฐนรี โยธาตรี เลขที่ 13 ม.3/1
โครงสร้างข้อมูลและอังกอลิทึม
หลักการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
ครูชลภิรัตน์ แก้วมูล MAIL.COM O.COM facebook : krumoo ck O.COM ครูชลภิรัตน์ แก้วมูล MAIL.COM O.COM.
การเขียนผังงาน ผังงาน (Flowchart)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ตรรกะพื้นฐานและการแก้ปัญหา Basic logic and Problem Solving 3(2-2-5)
Problem Analysis and Algorithm in Programming (การวิเคราะห์ปัญหา และการจำลองความคิดในการเขียนโปรแกรมคอมฯ)
Computer Program คือ ขั้นตอนการทำงาน ของคอมพิวเตอร์
วิชาคอมพิวเตอร์ คุณครูภาราดร ฟุ้งเฟื้อง
การเขียนซูโดโค้ด และการเขียนโฟลชาร์ต
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเขียนซูโดโค้ด และการเขียนโฟลชาร์ต การเขียนอัลกอริทึม การเขียนซูโดโค้ด และการเขียนโฟลชาร์ต

อัลกอริทึม (Algorithm) คือ กลุ่มของขั้นตอนหรือกฎเกณฑ์ที่จะนำพาไปสู่การแก้ปัญหา คือ ขั้นตอนวิธีที่ประกอบด้วยชุดคำสั่งเป็นขั้นเป็นตอนที่ชัดเจน และรับประกันว่าเมื่อได้ปฏิบัติถูกต้องตามขั้นตอนจนครบก็จะได้ ผลลัพธ์ที่ถูกต้องตามต้องการ คือ รูปแบบของการกำหนดการทำงานอย่างเป็นขั้นตอน ซึ่งผ่าน การวิเคราะห์และแยกแยะ เพื่อการแก้ปัญหาต่าง ๆ ตามลำดับขั้น อาจเลือกใช้ภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษตามความถนัด เพื่อนำเสนอ ขั้นตอนของกิจกรรมก็ได้

รหัสเทียม หรือซูโดโค้ด (Pseudo Code) คือ รหัสลำลองที่ใช้เป็นตัวแทนของอัลกอริทึม โดยมีถ้อยคำหรือ ประโยคคำสั่งที่เขียนอยู่ในรูปแบบของภาษาอังกฤษที่ไม่ขึ้นกับ ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาใดภาษาหนึ่ง คือ การแสดงขั้นตอนวิธีการที่ใช้ภาษาเขียนที่เข้าใจได้ง่าย อาจใช้ ภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษก็ได้ขึ้นอยู่กับความสะดวกของผู้เขียน และกิจกรรมที่จะนำเสนอ มักใช้รูปแบบคล้ายประโยค ภาษาอังกฤษเพื่ออธิบายรายละเอียดของอัลกอริทึม

ผังงาน (Flowchart)  คือ การแสดงขั้นตอนวิธีการที่ใช้สัญลักษณ์ที่เข้าใจได้ ง่าย แต่ให้รายละเอียดได้น้อยกว่า

ความแตกต่างของ Algorithm และ Pseudo Code  คือ การแสดงความคิดที่ได้จากการจินตนาการถึง ขั้นตอน ซึ่ง ขั้นตอนที่อยู่ในความคิดก็คือ Algorithm ที่ผ่านการแยก และ จัดลำดับแล้ว เมื่อนำเสนอก็อาจใช้ภาษาง่าย ๆ แต่หากนำเสนอ ด้วยการเขียนเป็นภาษาที่สื่อให้ทุกคนเข้าใจตรงกันได้ง่ายก็คือ Pseudo Code นั้นเอง สำหรับหนังสือหลายเล่มแสดง Algorithm ด้วย Pseudo Code ก็ยังเรียกว่า Algorithm ได้เช่นกัน

หลักการเขียนซูโดโค้ด หลักการเขียนซูโดโค้ด  ถ้อยคำที่ใช้เขียน ใช้ภาษาอังกฤษที่เข้าใจง่าย ในหนึ่งบรรทัด ให้มีเพียงหนึ่งประโยคคำสั่ง ใช้ย่อหน้าให้เป็นประโยชน์ ในการแสดงการควบคุมอย่างเป็น สัดส่วน แต่ละประโยคคำสั่งให้เขียนจากบนลงล่าง และมีทางออกทาง เดียว กลุ่มของประโยคคำสั่งอาจรวมเป็นหมวดหมู่แล้วเรียกใช้เป็น โมดูล

โปรแกรมส่วนใหญ่ประกอบด้วยกิจกรรม 3 ส่วน โปรแกรมส่วนใหญ่ประกอบด้วยกิจกรรม 3 ส่วน  1. input  2. process  3. output 

ตัวอย่าง อัลกอริทึมที่ 1 : ต้มมาม่า 1. หามาม่าไว้ 1 ซอง 2. ฉีกซองมาม่าและเทลงถ้วยเปล่า 3. ฉีกซองเครื่องปรุง แล้วเทลงถ้วยเดิม 4. ต้มน้ำให้ร้อนได้ที่ แล้วเทลงถ้วย 5. ปิดฝาไว้ 3 นาที 6. เปิดฝา แล้วรับประทาน

ตัวอย่าง อัลกอริทึม 3 : ต้มมาม่า 30 ถ้วย 1. ซื้อมาม่า 30 ซอง 2. ต้มน้ำ 7.5 ลิตรจนเดือด 3. ทำซ้ำ 30 ครั้ง 1. เตรียมถ้วยและฝาปิดถ้วย 2. ฉีกซองมาม่า แล้วเทลงถ้วยเปล่า 3. ฉีกเครื่องปรุง แล้วเทลงถ้วยเดิม 4. เทน้ำร้อนลงถ้วยแล้วปิดฝา 5. เรียกเพื่อนทั้ง 30 คน 6. เชิญทุกคนเปิด 30 ฝา แล้วรับประทาน

http://www.thaiall.com/d atastructure/pseudocode. htm ขอบคุณข้อมูลจาก http://www.thaiall.com/d atastructure/pseudocode. htm