โครงการ ส่งเสริมการใช้ยาต้านจุลชีพ โรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ห้องประชุมสานฝัน โรงพยาบาลสังขะ
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
แบบนำเสนอผลงานโครงการ
นาวาโท สมบูรณ์ เจิมสุจริต E.T.NURSE
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 5
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับมือกับการระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่
แผนการดำเนินงาน โครงการพัฒนาโรงพยาบาล “บริการฉับไว ไร้ความแออัด”
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
แนวทางการใช้ยาปฎิชีวนะ
กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข 23 มกราคม 2557 ณ โรงแรมริชมอนด์ นนทบุรี
ยินดีต้อนรับ สู่..ตึกโรคปอด.
ผู้ป่วยเม็ดเลือดขาวต่ำ
II – 2.1 การกำกับดูแลวิชาชีพ ด้านการพยาบาล (Nursing)
แผนปฏิบัติราชการของมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ผลการปฏิบัติราชการตามคำ รับรอง การปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
การเสนอกระบวนงานบริการเพื่อขอรับการประเมิน
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
การบริหารโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ Results Based Management (RBM)
โครงการ : การพัฒนาและ ปรับปรุงการทำงานด้วย Challenge โดย สำนักงานพัฒนา ชุมชนอำเภอเด่นชัย.
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
หัวหน้ากลุ่มโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
แบบบันทึกประกอบการวินิจฉัยและการรักษา โรคท้องร่วงเฉียบพลัน
การศึกษาความพึงพอใจของ
รายงานการวิจัย การศึกษาความพึงพอใจของบุคลากรสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ปีงบประมาณ พ.ศ.2552 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร.
การพัฒนางานประจำสู่การวิจัย Routine to Research : R2R
แนวนโยบายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
การจัดการระบบการดูแลรักษา โดยผู้ประสานงานในโรงพยาบาลห้วยพลู
25/07/2006.
การพัฒนางานคุณภาพงานเอดส์
ผลงานที่ไม่เคยเก็บตัวชี้วัด
การดูแล ผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
กลุ่มข้อมูลข่าวสารสุขภาพ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข
นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
สรุปการประชุม เขต 10.
การจัดทำหรือการอนุมัติ แผนงานหรือโครงการ โดยไม่เป็นไปตามวัตถุประสงค์
กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค และกฎหมาย
MIND MAPงานสุขภาพศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
Strategy Map สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร ปีงบประมาณ พ.ศ.2553
โรคมือปากเท้าเปื่อย (Hand foot mouth syndrome)
ของภาชนะสัมผัสอาหาร และมือ
แนวทางการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมกรณีอุทกภัย
โรคไตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
นโยบายคุณภาพ Quality Policy
โดย นายแพทย์เกียรติภูมิ วงศ์รจิต รองอธิบดีกรมสุขภาพจิต
ภายใต้โครงการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ ระยะที่ 2 : โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา.
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การลดอัตราการติดเชื้อผู้ป่วยที่คาสายสวนปัสสาวะ
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
กรอบการพัฒนาตัวชี้วัด
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
สรุปประเด็นการเยี่ยมสำรวจ โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช
แนวทางการบันทึก และตรวจประเมินคุณภาพ การบันทึกเวชระเบียน ผู้ป่วยนอก
การติดตาม และการควบคุม (Monitoring and Control)
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ว่าด้วยเกณฑ์จริยธรรมการจัดซื้อจัดหา
การปฏิบัติตามนโยบาย ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2555 เดือนมกราคม
ชุดเรียนรู้สร้างเสริมสุขภาพช่องปากนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1- 6
นโยบายและแนวคิด โรงพยาบาลคุณธรรม.
นวัตกรรม7สี ปันรัก ไกลโรค ปี2556
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ประจำปีงบประมาณ 2554.
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
1. การเตรียมผู้ป่วยก่อนทำการ ตรวจทางรังสีวิทยา 2. การเฝ้าระวังในผู้ป่วยที่อาจ เกิดเหตุฉุกเฉินขณะรอตรวจ 3. ความเหมาะสมของการส่ง ตรวจทางรังสีวิทยา 4. การควบคุมคุณภาพของการ.
แนวทางการดำเนินงานสาธารณสุขที่สำคัญ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2555 เดือนพฤศจิกายน.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการ ส่งเสริมการใช้ยาต้านจุลชีพ โรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัย อย่างสมเหตุสมผล “2 โรค ที่ไม่ต้องใช้ยาต้านจุลชีพ” โรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัย ปี พ.ศ.2553

เนื้อหา ที่มาและความสำคัญ แนวทางการใช้ยาต้านจุลชีพอย่างสมเหตุผล โรคติดเชื้อระบบทางเดินหายใจส่วนบน แผลเลือดออก

บทนำ การใช้ยาต้านจุลชีพอย่างพร่ำเพรื่อเป็นปัญหา สำคัญระดับโลก สาเหตุ: ปัจจัยส่วนบุคคล ผู้ป่วย: ความรู้ ความเชื่อ การเรียกร้อง & กดดัน บุคลากรทางสาธารณสุข: ความรู้ & ความเข้าใจ ที่คลาดเคลื่อน ความกดดัน ความกลัว ผลกระทบ: จน + แพ้ + เชื้อดื้อยา MRSA MDR-PA MRSA = methicillin-resistant Staphylococcus aureus MDR-PA = multidrug resistant Pseudomonas aeruginosa โครงการใช้ยาต้านจุลชีพอย่างสมเหตุผล: การนำร่องที่จังหวัดสระบุรีวารสารวิชาการสาธารณสุข 2552 (รอตีพิมพ์)

เหตุผล 10 ข้อ ที่ควรเข้าร่วมโครงการ เหตุผล 10 ข้อ ที่ควรเข้าร่วมโครงการ เพราะคุณรู้ว่าเชื้อดื้อยาเป็นวิกฤติ (เหมือนภาวะโลกร้อน) และทุกคนต้องร่วมกันแก้ไข เพราะสถานพยาบาลสามารถประหยัดงบค่ายา และค่ารักษาผู้ที่แพ้และดื้อยา เพราะ สปสช. กำหนดการใช้ยาต้านจุลชีพ อย่างสมเหตุผลเป็นตัวชี้วัดคุณภาพบริการ เพราะการใช้ยาต้านจุลชีพอย่างสมเหตุผลมีแนวโน้มจะเป็นนโยบายระดับประเทศ เพราะประชาชนเริ่มมองหาการรักาที่ได้มาตรฐานตามหลักวิชาการ

เหตุผล 10 ข้อ ที่ควรเข้าร่วมโครงการ เหตุผล 10 ข้อ ที่ควรเข้าร่วมโครงการ 6. เพราะคุณจะได้สร้างบุญกุศลโดยการให้ผู้ป่วยได้รับ บริการที่ดีและปลอดภัย 7. เพราะคุณจะได้ตอบแทนคุณของแผ่นดิน ตามพระราชดำริเศรษฐกิจพอเพียง 8. เพราะคุณจะเป็นหน้าหนึ่งในประวัติศาสตร์ของการแก้ไข ปัญหาสาธารณสุขของประเทศ 9. เพราะคุณจะสนุกและก้าวหน้าในการงานโดนเปลี่ยนจาก งานประจำมาเป็นงานวิจัย (Routine to Research, R2R) 10. เพราะคุณรู้...ถ้าคุณลองทำดู..คุณทำได้

โครงการส่งเสริมการใช้ยาต้านจุลชีพ อย่างสมเหตุสมผล สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ริเริ่มโครงการส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล มุ่งเน้น 3 โรคหลักที่พบบ่อย คือ โรคติดเชื้อระบบทางเดินหายใจส่วนบน โรคท้องร่วงเฉียบพลัน แผลเลือดออก

โรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัย เล็งเห็นความสำคัญของการดำเนินการตามโครงการดังกล่าว มุ่งเน้น 2 โรค หลักที่ไม่ต้องใช้ยาต้านจุลชีพ คือ โรคติดเชื้อทางเดินหายใจ และแผลเลือดออก เป็นหนึ่งในกลยุทธ์ที่ใช้ในการลดมูลค่าการใช้ยา ให้ลดลงร้อยละ 5 ตามมติของคณะกรรมการ PTC

วัตถุประสงค์ เพื่อให้บุคลากรทางการแพทย์สามารถสั่งใช้ยาต้านจุลชีพได้อย่างสมเหตุสมผลในการรักษา 2 โรคหลัก คือ โรคติดเชื้อระบบทางเดินหายใจส่วนบนและแผลเลือดออก เพื่อให้ประชาชนหรือผู้ป่วยได้รับการรักษาที่ดีมีประสิทธิภาพและความปลอดภัยตามหลักฐานทางวิชาการที่มีความน่าเชื่อถือ และมีความพึงพอใจในบริการที่ได้รับ เพื่อลดปริมาณและมูลค่าการใช้ยาต้านจุลชีพ เพื่อลดหรือชะลอการเกิดปัญหาเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพ

กลุ่มเป้าหมาย ผู้ป่วยนอกที่มารับบริการ ณ โรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัย ที่มีสุขภาพแข็งแรง อายุตั้งแต่ 2 ปีขึ้นไป และป่วยด้วย 2 โรคเป้าหมาย คือ โรคติดเชื้อระบบทางเดินหายใจส่วนบนและแผลเลือดออก โดยจะไม่เกี่ยวข้องกับผู้ป่วยที่มีลักษณะ ดังนี้ เข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาล มีอายุน้อยกว่า 2 ปี ผู้ป่วยหนัก หรือผู้ที่มีโรคหรือภาวะแทรกซ้อนรุนแรง ผู้ที่มีภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่องหรือเบาหวาน

ตัวชี้วัด ปริมาณและมูลค่าการใช้ยาต้านจุลชีพ สุขภาพและความพึงพอใจของผู้ป่วยที่ไม่ได้รับยาต้านจุลชีพ ร้อยละของผู้ป่วยที่ไม่ได้รับยาต้านจุลชีพ

สื่อและอุปกรณ์ สำหรับบุคลากรทางการแพทย์ สื่อ/อุปกรณ์ วิธีการใช้ 1 คู่มือแนวทางการใช้ยาต้านจุลชีพอย่างสมเหตุสมผลใน 2 โรคเป้าหมาย แจกแก่บุคลากรทางการแพทย์ โดยเฉพาะแพทย์ผู้สั่งใช้ยา เพื่อใช้เป็นแนวทางปฏิบัติในการรักษา 2 โรคเป้าหมาย 2 โปสเตอร์ “แผนผังการใช้ยาต้านจุลชีพอย่างสมเหตุสมผลใน 2 โรคเป้าหมาย” ติดโปสเตอร์ในห้องตรวจ เพื่อใช้เป็นแนวทางปฏิบัติในการรักษา 2 โรคเป้าหมาย 3 ไฟฉายแสงขาว ใช้แทนไฟฉายแสงสีเหลืองส้ม เพื่อให้การตรวจวินิจฉัยอาการ “คอแดง” ได้แม่นยำมากขึ้น

สื่อและอุปกรณ์ สำหรับผู้ป่วยและประชาชน สื่อ/อุปกรณ์ วิธีการใช้ 1 โปสเตอร์รณรงค์ “2 โรครักษาได้ไม่ต้องใช้ ยาต้านจุลชีพ” ติดโปสเตอร์ในบริเวณที่ผู้ป่วยหรือประชาชนเห็นได้ในระหว่าง รอตรวจหรือรอรับยา 2 แผ่นพับเรื่อง “2 โรครักษาได้ไม่ต้องใช้ยาต้านจุลชีพ” แจกให้กับผู้ป่วยทุกครั้งที่ได้รับและไม่ได้รับยาต้านจุลชีพในการรักษา 2 โรคเป้าหมาย 3 แผ่นซีดีเสียง เรื่อง “2 โรครักษาได้ ไม่ต้องใช้ยาต้านจุลชีพ” ใช้เพื่อเผยแพร่ผ่านเสียงตามสายภายในโรงพยาบาลและในชุมชน

ตัวชี้วัด ปริมาณและมูลค่าการใช้ยาต้านจุลชีพ สุขภาพและความพึงพอใจของผู้ป่วยที่ไม่ได้รับยาต้านจุลชีพ ร้อยละของผู้ป่วยที่ไม่ได้รับยาต้านจุลชีพ

แนวทางการใช้ยาต้านจุลชีพ ในการรักษาโรคติดเชื้อเฉียบพลัน ของระบบทางเดินหายใจส่วนบน ประกอบด้วย โรคคอหอยอักเสบจากเชื้อ group A Streptococci (group A streptococcal pharyngitis) โรคไซนัสและเยื่อบุในจมูกอักเสบจากเชื้อแบคทีเรีย (bacterial rhinosinusitis) โรคหูชั้นกลางอักเสบเฉียบพลัน (acute otitis media)

แนวทางการใช้ยาต้านจุลชีพ ในการรักษาแผลเลือดออก แบ่งตามประเภทแผลเลือดออก แผลสะอาด แผลปนเปื้อน แบ่งตามเชื้อก่อโรคที่พบว่าน่าจะเป็นสาเหตุของการติดเชื้อ เชื้อไวต่อยา: methicillin-sensitive S. aureus (MSSA) เชื้อดื้อยา: community-acquired methicillin-resistant S. aureus (CA-MRSA) หรือ hospital-acquired methicillin-resistant S. aureus (HA-MRSA)

การใช้ยาต้านจุลชีพ ในการรักษาแผลเลือดออก ดำเนินการเป็นโครงการวิจัย ภายใต้การควบคุมของ นพ. พรชัย สินคณารักษ์ กลุ่มการพยาบาล (ER & OPD) และ กลุ่มงานเภสัชกรรม

ตัวอย่างสื่อที่ใช้ในโครงการ

ตัวอย่างสื่อที่ใช้ในโครงการ

ตัวอย่างสื่อที่ใช้ในโครงการ