การดำเนินงานสุขภาพจิตเครือข่าย ในเขตสุขภาพที่10 ปีงบประมาณ 2558

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สาขาสุขภาพจิตและจิตเวช
Advertisements

ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
การพัฒนาระบบการส่งต่อโรคเรื้อรังใกล้บ้านใกล้ใจ โรงพยาบาลท่ายาง อำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี กฤษณา เปรมศรี 10 มกราคม
ความก้าวหน้าของการพัฒนา Database
นำเสนอโดย นางสงวนศรี พลดอน พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงานเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลปัตตานี
การจัดทำระบบข้อมูลสุขภาพพื้นที่ : จังหวัดลำพูน
แบ่งคณะกรรมการเป็น 2 ทีม ๆ ละ 10 คน ประกอบด้วย ประธาน (รอง ผอ. 2 ท่าน) มอบหมายกรรมการทำการประเมิน ท่านละ 1 ประเด็น (ระบุชื่อผู้รับผิดชอบใน 6 ประเด็น) แยกดูตามแผนก/พื้นที่ที่เกี่ยวข้อง.
ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ความคาดหวังหลังการประชุมฯ ครั้งนี้
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
ยุทธศาสตร์ กรมสุขภาพจิต
การบริการวิกฤตสุขภาพจิตและการปฏิบัติงานทีม MCATTและบทบาทหน้าที่
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
โดย ทันตแพทย์หญิงภารณี ชวาลวุฒิ โรงพยาบาลสวนปรุง
แนวทางการดำเนินงาน และ แผนการดำเนินงาน
สาขาหัวใจ ปัญหากิจกรรมสถานบริการ 1. STEMIยาละลายลิ่มเลือดพจก. 2. NSTEMIตรวจ ECHO CARDIOGRAPHY และทำการตรวจสวนหัวใจ พจก. 3. CARDIAC ARRHYTHMIA และ VHD ได้รับยา.
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
ชุมชนคลองตาแป้น ศูนย์บริการสาธารณสุข 62 ตวงรัชฏ์ ศศะนาวิน ภักดี ฐานปัญญา
การพัฒนาเครือข่ายในระบบบริการ สาธารณสุขให้มีการพัฒนาระบบ บริการสุขภาพจิตและจิตเวช สำหรับ รพศ. รพท. รพช. รพสต. พรประไพ แขกเต้า งานสุขภาพจิตและจิตเวชชุมชน.
ระดับเขต : สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี
เขต 15 เขต 15: เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง แม่ฮ่องสอน.
แนวทางการดำเนินงานสุขภาพจิต ของโรงพยาบาลชุมชน ในปีงบประมาณ 2553
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
ตัวชี้วัดที่ 3 ระดับความสำเร็จในการพัฒนาบริการผู้ป่วยโรคจิตให้เข้าถึงบริการเพิ่มขึ้นในพื้นที่ เป้าหมาย จำนวนผู้ป่วยโรคจิตที่เข้าถึงบริการเพิ่มขึ้นร้อยละ.
การขับเคลื่อนการดำเนินงานสุขภาพจิตชุมชน
เป้าหมาย สตรีอายุ ปี 240,279 ผลงาน 65,541 (27.28 %) ผิดปกติ/ ส่งต่อ
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
แนวทางการดำเนินงาน ส่งเสริม ป้องกันและควบคุมโรคธาลัสซีเมีย
วัตถุประสงค์ การส่งสริมสุขภาพป้องกัน และเฝ้าระวังโรค
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สสจ.อุดรธานี
คู่มือการดูแลทางจิตเวช เพื่อป้องกันปัญหาการฆ่าตัวตาย
การพัฒนากิจกรรมเพื่อการป้องกันการเกิดเชื้อเอชไอวีดื้อยา
โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์
*ppt.2 ระบบดูแลเฝ้าระวังโรคซึมเศร้า การอบรมการดูแลเฝ้าระวังโรคซึมเศร้า สำหรับผู้ปฏิบัติในพื้นที่ สนับสนุนโดย กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข.
การประเมินคลินิกNCD คุณภาพ
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
เพิ่มภาพ แผนที่ตำบล หรือภาพกิจกรรมชมรมสูงอายุในพื้นที่
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
การชี้แจงตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านคุณภาพบริการ ร้อยละของอาเภอที่มีทีม miniMERT, MCATT, SRRT คุณภาพ ธีราภา ธานี พยาบาลวิชาชีพชำนาญ.
เอกสารประกอบการประชุมชี้แจงฯ เขตฯ10 ประจำปี วันที่ พ. ย ณ รร
การพัฒนางานวิกฤตสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2558
กรอบการบริหารงบบริการ การแพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2558
นิยาม ศูนย์ให้คำปรึกษาคุณภาพ (Psychosocial Clinic) หน่วยบริการระดับโรงพยาบาลชุมชนที่มีการจัดบริการดูแล ช่วยเหลือทางสังคมจิตใจทุกกลุ่มวัย โดยมีองค์ประกอบ.
โครงการโรงพยาบาลปลอดบุหรี่ ขยายเครือข่ายสู่ชุมชน
ศูนย์พัฒนาเครือข่ายบริการสุขภาพจิตและจิตเวช
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
สาขาโรคมะเร็ง.
แนวทางการบูรณาการ โครงการพัฒนาสุขภาพจิตใน เขต 11 และ 13 ประจำปีงบประมาณ
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
บูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพ ด้านพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
แนวทางการดำเนินงานสุขภาพจิต กลุ่มวัยทำงาน
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
การพัฒนาการดำเนินงาน Service Plan เขตบริการสุขภาพที่ 1 สาขาตา
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
การกำกับดูแลโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพ และโฆษณาสถานพยาบาล
ผลการตรวจราชการและนิเทศงาน รอบที่ 1
ประชุมประสานแผนทันตฯ จังหวัด หนองบัวลำภู ปีงบประมาณ ๒๕๕๘ ๑๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ ห้องประชุม สสอ. เมือง.
สาขาจิตเวช.
เรื่องแจ้งจากกลุ่มงานทันต สาธารณสุข (4 ก. พ.2557)  ผลงาน QOF ทันตกรรม 2 เรื่อง  งานบริการทันตกรรมที่ผู้ตรวจ ราชการให้ความสำคัญ.
กำจัดพยาธิใบไม้ตับ ลดมะเร็งท่อน้ำดี
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
การดำเนินงานดูแลผู้ป่วยต้อหิน จังหวัดร้อยเอ็ด 2011
ข้อเสนอแนะของผู้นิเทศ ข้อเสนอแนะในประเด็นสำคัญ เพิ่มเติม ดังนี้
แนวทางการดูแลผู้ป่วย นิติจิตเวชในชุมชน
ผลการ ดำเนินงาน 5.1 โครงการ ส่งเสริมและ ป้องกันปัญหา สุขภาพจิต ต. ค.46- มี. ค.47 เขต 8 และ เขต 9.
คลินิกสุขภาพเด็กดีคุณภาพ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การดำเนินงานสุขภาพจิตเครือข่าย ในเขตสุขภาพที่10 ปีงบประมาณ 2558 การดำเนินงานสุขภาพจิตเครือข่าย ในเขตสุขภาพที่10 ปีงบประมาณ 2558 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพจิตและจิตเวช วัตถุประสงค์ : เพื่อให้ประชาชนได้รับการดูแลและเข้าถึงบริการ สุขภาพจิตทั้งในภาวะปกติและภาวะวิกฤติ ประเด็น: งานบริการโรคจิตเวชที่สำคัญ 1.เพิ่มการเข้าถึงผู้ป่วยโรคจิตในพื้นที่และได้รับการดูแล อย่างต่อเนื่อง 2. เพิ่มการเข้าถึงผู้ป่วยโรคซึมเศร้า

เพิ่มการเข้าถึงผู้ป่วยโรคจิตในพื้นที่ และได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่อง เพิ่มการเข้าถึงผู้ป่วยโรคจิตในพื้นที่ และได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่อง ผู้ป่วยโรคจิต หมายถึง ประชาชนที่ป่วยได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคจิต หมวด F 20-29 การเข้าถึงบริการเพิ่มขึ้น หมายถึง ผู้ที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคจิต ได้รับการดูแลรักษาด้วยวิธีการแพทย์ จิตบำบัด เภสัชบำบัด การรักษาด้วยไฟฟ้า การได้รับการดูแลต่อเนื่องเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการรักษา หมายถึง ผู้ป่วยโรคจิตที่รักษาอาการสงบแล้วตามฐานข้อมูลในพื้นที่ ได้รับการติดตามดูแล เรื่อง การกินยา การประเมินและจัดการปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้กลับเป็นซ้ำ เฝ้าระวังและจัดการอาการที่บ่งว่ากำเริบซ้ำ

แนวทางการดำเนินงาน กำหนดอำเภอนำร่อง 1 อำเภอต่อ 1 จังหวัด คือ กำหนดอำเภอนำร่อง 1 อำเภอต่อ 1 จังหวัด คือ 1. มุกดาหาร : อำเภอหนองสูง 2. ศรีสะเกษ : อำเภอขุขันธ์ 3. ยโสธร : อำเภอมหาชนะชัย 4.อำนาจเจริญ : อำเภอหัวตะพาน 5.อุบลราชธานี : อำเภอเดชอุดม

แนวทางการดำเนินงาน 2. ผู้รับผิดชอบสารสนเทศ รพ พศ./ สสจ./ รพท/รพช นำร่อง ค้นหาข้อมูลผู้มารับบริการ รพ จิตเวช และบันทึกใน Data center เพื่อเป็นฐานข้อมูลโรคจิตก่อนดำเนินโครงการนำร่อง 3.จัดประชุมชี้แจงการดำเนินโครงการในพื้นที่นำร่อง กับผู้รับผิดชอบงานใน รพช/รพท สสอ รพสต. 4. สร้างระบบบัญชียาและจัดเตรียมระบบรับส่งยาในพื้นที่นำร่อง 5.แจ้งชื่อเพื่อจัดทำเนียบผู้รับผิดชอบ ได้แก่ แพทย์ พยาบาลนักวิชาการ เจ้าพนักงานสาธารณสุข ที่ผ่านการอบรมเรื่องโรคจิต (Psy2/58)

แนวทางการดำเนินงาน 6. จัดกิจกรรมรณรงค์ การเข้าถึงโรคจิต เช่นรณรงค์การคัดกรอง 7. การดำเนินงาน 7.1 รพสต.คัดกรองประชาชน โดย อสม. ใช้แบบคัดกรอง ถ้าเสี่ยงหรือ Positive ส่งต่อรพสต. เพื่อประเมินซ้ำ 7.2 รพสต ประเมินซ้ำถ้า Positive ส่งต่อแพทย์ผู้รับผิดชอบในรพร/รพช ตรวจวินิจฉัยโรคและบำบัดรักษาตามมาตรฐานวิชาชีพ และแนวปฏิบัติ หรือส่งต่อ 7.3 รพร/รพช สร้างระบบการรับยาเดิม และติดตามผู้ป่วยที่ขาดยาเกิน 3 เดือน

7.4 ลงบันทึกข้อมูล 43 แฟ้ม เพื่อประมวลผลเพิ่มการเข้าถึงโรคจิต เป้าหมายทั้งเขต ร้อยละ 45 เป้าหมายโครงการเพิ่มขึ้น ≥ ร้อยละ 5 7.5 การรวบรวมผลการดำเนินงาน ในแบบบันทึก -ทะเบียนรายชื่อผู้ป่วยโรคจิต ในพื้นที่นำร่อง (Psy 3/58) -ทะเบียนรายชื่อ และการติดตามดูแลผู้ป่วยที่ขาดยาเกิน 3 เดือน (Psy 4/58) 7.6 เครื่องมือ สื่อที่ใช้ แบบคัดกรองโรคจิต

การคำนวณผู้ป่วยโรคจิต จังหวัด ปชก กลางปี ความชุกคาดว่าจะป่วย การเข้าถึง ปี 2557 มุกดาหาร ศรีสะเกษ ยโสธร อำนาจเจริญ อุบลราชธานี

2. เพิ่มการเข้าถึงผู้ป่วยโรคซึมเศร้า การดำเนินงาน ทบทวนข้อมูลการเข้าถึงโรคซึมเศร้าจังหวัดที่ยังไม่บรรลุเป้าหมายปี 2558 ร้อยละ37 และเพิ่มการเข้าถึงใน จังหวัดที่บรรลุเป้าหมายจาก สำรวจบุคลากรสาธารณสุขในหน่วยงานที่ยังไม่ผ่านการพัฒนาศักยภาพด้านโรคซึมเศร้า และลงในทำเทียบให้เป็นปัจจุบัน เข้ารับการพัฒนาศักยภาพในผู้ที่ยังไม่ผ่าน จัดให้มีการคัดกรอง ผู้มารับบริการในกลุ่มเสี่ยง เช่นกลุ่มสูงอายุ ncd สุรา สารเสพติด ด้วย 2 Q 9Q

2. เพิ่มการเข้าถึงผู้ป่วยโรคซึมเศร้า 5. ส่งพบแพทย์เพื่อการวินิจฉัยโรค และให้การบำบัดรักษาตามแนวทางปฏิบัติ CNPG 6. การดูแลต่อเนื่อง และติดตามประเมินผลการรักษา หรือส่งต่อตามเกณฑ์ 7.บันทึกข้อมูล ในโปรแกรม