สรุปการประชุม เรื่อง วันคืนสู่เหย้า ASU กุมภาพันธ์ 2554

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แนวทางการสนับสนุน รพสต.
Advertisements

วัตถุประสงค์ พัฒนาองค์ความรู้การดำเนินงาน คบส.ให้กับ อสม. และเครือข่ายในชุมชน เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมและความเข้มแข็งให้กับเครือข่ายชุมชนที่ดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคในระดับชุมชน.
บูรณาการสู่ความสำเร็จ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
ความปลอดภัยด้านอาหาร (Food Safety)
การสร้างบรรทัดฐานทางสังคม: Antibiotics Smart Use Program ระยะที่ 3
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
เล่าเรื่อง หัวใจแห่งความสำเร็จ การส่งเสริมสุขภาพ
ตามแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์(SRM) สู่การ ปฏิบัติการในพื้นที่
ประเด็นยุทธศาสตร์ กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ ดื่มน้ำสะอาด
การส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
การมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชน
ตัวชี้วัดการดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหาร สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
ฟันดี สุขภาพดี ชีวีมีสุข ทพ.สุธาเจียรมณีโชติชัย ผอ.สำนักทันตสาธารณสุข
ขับเคลื่อน....ความร่วมมือ.... ด้านสุขภาพและสิ่งแวดล้อม ภาคเหนือ
การป้องกันควบคุมโรคขาดสารไอโอดีน
แบบนำเสนอผลงานโครงการ
“โครงการอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555”
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
นโยบายอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี ๒๕๕๔
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
คุณลักษณะที่ ๒ มีระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ
“การสนับสนุนเครือข่ายให้มีการพัฒนาการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555” โดย ดร.นายแพทย์อนุพงค์ สุจริยากุล ผู้อำนวยการสำนักงานควบคุมป้องกันโรค.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
กลุ่ม น้ำบริโภคสะอาด ปลอดภัย เพียงพอ
ประชุมเพื่อประสานแผน การทำงาน การกำหนดเป้าหมาย และการติดตามกำกับงาน
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข ปี 2552 “อาหารปลอดภัย เด็กไทยฉลาด”
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
โครงการความร่วมมือในการพัฒนาผลิตภัณฑ์สมุนไพร คุณภาพสู่ระบบบริการสุขภาพ
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
ตัวชี้วัด เป้าหมาย แนวทางดำเนินงาน ของกลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
หลักการและเหตุผล หน่วยงานภาครัฐ/ เอกชน ต่างคนต่างทำงานไม่ได้เชื่อมประสานการทำงานเป็นเครือข่าย โรคและภัยสุขภาพเกิดขึ้นในทุกพื้นเพียงแต่แตกต่างกันในรายละเอียด.
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
บุญเรือง ขาวนวล คณะวิทยาการสุขภาพและการกีฬา
คำแนะนำการใช้ SLM ร่วมระหว่าง กรมอนามัยและควบคุมโรค  การจัดการทั่วไป 1. สสจ. จัดประชุมเพื่อพัฒนา SLM ร่วมเพิ่มเติม ผู้ เข้าประชุมประกอบด้วยคณะผู้แทนศูนย์อนามัย.
โครงการพัฒนามาตรการป้องกัน เอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
อย.น้อย : เริ่มต้น และความคาดหวัง รวบรวมโดย...กฤษณา แป้นงาม
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
กลุ่มที่ 6 วัดเขาทุเรียน ( วัดสีชมพู ) สุดยอดส้วม ระดับประเทศปี 2552 ประเภท ศาสนสถาน.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ผลการตรวจราชการและนิเทศงาน รอบที่ 1
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
(Evaluation) มุมมองประชาชน มุมมองภาคี (Stakeholder) มุมมองกระบวนการ
โครงการ บูรณาการความร่วมมือภาคีเครือข่าย สร้างเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้ เพื่อผู้สูงอายุสุขภาพดี “80 ปี ยังแจ๋ว”
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
แนวทางการดำเนินงานสาธารณสุขที่สำคัญ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สรุปการประชุม เรื่อง วันคืนสู่เหย้า ASU 10-11 กุมภาพันธ์ 2554 จัดโดย สำนักยา สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ร่วมกับแผนงานสร้างกลไลเฝ้าระวังและพัฒนาระบบยา วันที่ 10-11 กุมภาพันธ์ 2554 โรงแรมริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี ภญ.ดร. นิธิมา สุ่มประดิษฐ์ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ

การประชุม วิทยากรกระบวนการ 2 ท่าน ภก.ภาณุโชติ ทองยัง สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสมุทรสงคราม ภก.สันติ โฉมยงค์ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ผู้เข้าร่วมประชุมจากพื้นที่เจ้าของโครงการ จำนวน 59 คน จาก 19 จังหวัด: นครนายก สมุทรสงคราม พระนครศรีอยุธยา เชียงราย ลำปาง เชียงใหม่ ขอนแก่น อุบลราชธานี สระบุรี สุรินทร์ นครพนม สุพรรณบุรี กระบี่ ตรัง สงขลา นครศรีธรรมราช สมุทรปราการ สมุทรสาคร และกทม.

Outline ธีมในการสื่อสาร สรุปการเคลื่อนไหว ASU สรุปประเด็นจากการประชุม What’s next?

สรุปเรื่องธีมในการสื่อสาร

ธีมหลักของการสื่อสารความรู้ใน ASU เรียนรู้ระหว่างกัน จึงสังเคราะห์เป็นธีมการสื่อสารที่ประชาชน ทุกคนควรรู้ ดังนี้ ยาปฏิชีวนะ ไม่ใช่ ยาแก้อักเสบ ยาปฏิชีวนะ เป็นยาอันตราย 3 โรคที่พบบ่อย (หวัดเจ็บคอ ท้องเสีย-อาหารเป็นพิษ และบาดแผลเลือดออก) รักษาหายได้ ... ไม่ต้องใช้ยาปฏิชีวนะ

ยาปฏิชีวนะ ไม่ใช่คำยาก ... ประชาชนจำนวนมากรับรู้และเข้าใจ ยาปฏิชีวนะ ไม่ใช่คำยาก ... ประชาชนจำนวนมากรับรู้และเข้าใจ โฆษณา ทำให้ประชาชนรู้จักคำว่า แบคทีเรียแลคโตบาซิลลัส สไปรูไลนา และโอเมก้า-3 เราก็ทำให้ชาวบ้านรู้จักคำว่า “ยาปฏิชีวนะ” ได้เช่นกัน อย. หน่วยงานรัฐ และเครือข่ายต่างๆ รณรงค์โดยใช้คำว่า ยาปฏิชีวนะ ภาคเอกชนก็ใช้คำว่ายาปฏิชีวนะ เช่น ถุงไก่ย่างยี่ห้อหนึ่ง มีการเขียนด้านหลังของถุงว่า “ผลิตภัณฑ์..(ชื่อ).. ปลอดสาร ปลอดยาปฏิชีวนะ” การใช้คำว่า “ยาฆ่าเชื้อแบคทีเรีย” สามารถใช้แทนคำว่ายาปฏิชีวนะได้ แต่ควรระวังว่าเมื่อใช้ไประยะหนึ่งอาจมีการย่อคำเป็น “ยาฆ่าเชื้อ” ซึ่งอาจมีปัญหาตามมาจากคำย่อนี้ในภายหลัง เพราะต้องถามต่อว่า ยาฆ่าเชื้ออะไร เชื้อรา เชื้อไวรัส หรือเชื้อแบคทีเรีย ดังนั้น การสร้างความเข้าใจกับประชาชนเกี่ยวกับคำว่ายาปฏิชีวนะจะช่วยป้องกันปัญหานี้ได้

สรุปการเคลื่อนไหว ASU

ระยะ 3: ความยั่งยืนของโครงการ (2553 – 2555) Antibiotics Smart Use ระยะ 1: การนำร่อง (2551 – 2552) เป้าหมาย: เพื่อทดสอบประสิทธิภาพของชุดกิจกรรมที่ใชเปลี่ยนพฤติกรรมการสั่งใช้ยาปฏิชีวนะ พื้นที่: 1 จังหวัด (สระบุรี) รวม 10 โรงพยาบาลชุมชน และ 87 สถานีอนามัย ระยะ 2: ศึกษาความเป็นไปได้เพื่อขยายผล (2552–3) เป้าหมาย: เพื่อทดสอบความเป็นไปได้เพื่อขยายผลโครงการ และสร้างเครือข่ายกับพื้นที่เพื่อทำงานร่วมกัน พื้นที่: 3 จังหวัด (อุบลราชธานี อยุธยา สมุทรสงคราม) 2 เครือข่าย รพ. (รพ.กันตัง จ.ตรัง และกลุ่มรพ. ศรีวิชัย) Diffusion update: Dec 2009 ระยะ 3: ความยั่งยืนของโครงการ (2553 – 2555) เป้าหมาย: เพื่อผนวก ASU เป็นส่วนหนึ่งของงานประจำของสถานพยาบาล และสร้างบรรทัดฐานทางสังคมในการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล ASU ได้รับการสนับสนุนนโยบายครั้งแรกจาก สปสช. เมื่อ มี.ค. 2552

เป้าหมายร่วมกัน ในเดือนธันวาคม 2555 แนวคิด ASU กลายเป็น ส่วนหนึ่งของงานประจำ และเป็นบรรทัดฐานของ สังคม ยุทธศาสตร์ที่ 1 เชื่อมต่อนโยบาย ยุทธศาสตร์ที่ 2: ความเข้มแข็งของเครือข่าย ยุทธศาสตร์ที่ 3: รณรงค์ในภาคประชาชน

สรุปการเคลื่อนไหว ASU ด้านนโยบายในปี 2553 ภายใต้ยุทธศาสตร์ที่ 1: การเชื่อมต่อนโยบาย

การเคลื่อนไหวด้านนโยบายยาปฏิชีวนะของประเทศ และ ASU สรพ. สนับสนุน ASU ผ่าน HA surveyors และ HA Forum 15-18 มีนาคม 2554 กำลังมีการแต่งตั้ง คณะทำงานขับเคลื่อนยุทธศาสตร์พัฒนาระบบและกลไกป้องกันและแก้ไขปัญหาที่เกิดจากการใช้ยาต้านจุลชีพและการดื้อยาของเชื้อก่อโรค (ภายใต้คณะอนุกรรมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล) เวทีของกลุ่มประเทศ ASEAN และ International government drug regulatory agency (IGDRA) สนใจให้ ASU เป็นแหล่งศึกษาดูงานของประเทศสมาชิก ASEAN ด้านการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผลหากไทยทำสำเร็จ

สรุปการเคลื่อนไหว ASU ด้านเครือข่าย ภายใต้ยุทธศาสตร์ที่ 2: ความเข้มแข็งของเครือข่าย

ภาคีเครือข่ายในส่วนกลางเพิ่มขึ้น สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา คณะแพทย์ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ องค์การอนามัยโลก สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ แผนงานกลไกเฝ้าระวังและพัฒนาระบบยา (กพย.)(สสส.) กองพัฒนาศักยภาพผู้บริโภค (อย.) คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และมหาวิทยาลัยมหาสารคราม หน่วยงานอื่นที่เห็นชอบในแนวคิด ASU และให้การสนับสนุนในด้านต่างๆ เช่น สำนักงานพัฒนานโนบายสุขภาพระหว่างประเทศ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ มหาวิทยาลัยต่างๆ สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาลผู้ทำงาน (องค์การมหาชน) และ องค์กร ReACT ระยะที่ 1 ระยะที่ 2 ระยะที่ 3

การเคลื่อนไหวด้านยาปฏิชีวนะของประเทศ ด้านเครือข่าย ASU กพย. เริ่มแผนงานด้านยาปฏิชีวนะกับเครือข่ายครูผู้ปกครอง อย. การทำงานร่วมกันระหว่างกองควบคุมยา และกองพัฒนาศักยภาพผู้บริโภค โครงการ Twin city ระหว่างเชียงใหม่กับ Uppsala, Sweden

สรุปการเคลื่อนไหว ASU ด้านการรณรงค์สู่ประชาชน ภายใต้ยุทธศาสตร์ที่ 3: การรณรงค์ในภาคประชาชน

การรณรงค์สู่ประชาชน เพื่อสร้างบรรทัดฐานใหม่ของสังคม การรณรงค์สู่ประชาชน เพื่อสร้างบรรทัดฐานใหม่ของสังคม วันองค์การอนามัยโลก : ธีม Use antibiotics rationally 17 กพ. – สธ.แถลงข่าวการจัดประกวดเรียงความและการจัดกิจกรรม ในวันองค์การอนามัยโลก 4 เม.ย. – เปิดตัววันองค์การอนามัยโลก การสื่อสารโดยกองพัฒนาศักยภาพผู้บริโภค (อย.) Mass communication การรณรงค์โดย กพย. โครงการประกวดสื่อในกลุ่มนักเรียน และนักศึกษา การรณรงค์โดยเครือข่าย ASU ในชุมชน สื่อบุคคลล สอ. อสม. รร.

สรุปประเด็นจากการประชุม

ปัจจัยความสำเร็จ สร้างทีมงานที่เชื่อมโยง รพ. รพสต. ผู้นำชุมชน วันที่ 10 ก.พ. 54 สร้างทีมงานที่เชื่อมโยง รพ. รพสต. ผู้นำชุมชน ผู้บริหาร และผลักดันนโยบาย มี role model ของพื้นที่ ASU สื่อจากส่วนกลางต้องเพียงพอ มีสื่อเฉพาะกลุ่ม เวทีนำเสนอผลงาน ขยายผลต่อยอดไปโรคอื่น บูรณากับส่วนอื่น

ฝากส่วนกลาง เพิ่มช่องทางการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ Mass media วันที่ 10 ก.พ. 54 เพิ่มช่องทางการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ Mass media ร้านขายของชำมียาปฏิชีวนะ

สิ่งที่อยากทำ อยากขยายผลลงไปที่ชุมชน ร้านยา โรงงาน วันที่ 10 ก.พ. 54 อยากขยายผลลงไปที่ชุมชน ร้านยา โรงงาน ASU ลงไปที่ รร.แพทย์ พยาบาล เภสัช ASU ควรเป็นบรรทัดฐานทางสังคมอย่างยั่งยืน ปลูกฝังในโรงเรียน

การศึกษาสถานการณ์และ การสร้างนวตกรรมในครัวเรือนและชุมชน วันที่ 11 ก.พ. 54 การศึกษาสถานการณ์และ การสร้างนวตกรรมในครัวเรือนและชุมชน การศึกษาสถานการณ์ในครัวเรือน ครอบครัว เพื่อนบ้าน เวทีประชุมในหมู่บ้าน การศึกษาสถานการณ์ในชุมชน ยาปฏิชีวนะ และยาอื่น รวมทั้งยาสมุนไพร นวตกรรมในครัวเรือน ครอบครัวต้นแบบ นวตกรรมชุมชน ร้านชำคุณภาพ Concept ขายตรง ยาทางเลือก มีการวัดผล

What’s next? ในเดือนธันวาคม 2555 แนวคิด ASU กลายเป็นส่วนหนึ่งของงานประจำ และเป็น บรรทัดฐานทางสังคม หลังจากวันนี้ ข้อคิดจากการประชุมนี้จะถูกใช้ในการยกร่างแบบเสนอ โครงการที่ทำร่วมกันโดยเน้นการสร้างบรรทัดฐานใหม่ของสังคมและความ เข้มแข็งของเครือข่าย และจะมีนัดประชุมหารือเป็นระยะเพื่อพัฒนาร่างแบบ เสนอโครงการ ในระหว่างนี้ เราดำเนินการในส่วนของเราควบคู่ไปด้วย พื้นที่เจ้าของโครงการ: สามารถขยายงานในพื้นที่ สร้างเครือข่ายในชุมชน และเกาะกระแสกิจกรรมวันองค์การอนามัยโลกเพื่อทำให้การทำงานสะดวกมากขึ้น ส่วนกลาง: สนับสนุนการทำงานของเครือข่ายและพื้นที่ และเชื่อมโยงกับนโยบาย นำข้อมูลจากการประชุมไปทำร่างแบบเสนอโครงการเพื่อสร้างบรรทัดฐานใหม่ของสังคมด้านยาปฏิชีวนะ พื้นที่เจ้าของโครงการและส่วนกลาง: วางแผนร่วมกัน สร้างทีมงานให้ครอบคลุมทุกระดับ รพช. รพสต. อสม. และผู้นำชุมชน

โครงการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล Antibiotics Smart Use Program ขอบคุณ ติดต่อโครงการ โครงการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล Antibiotics Smart Use Program สำนักยา สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ถ.ติวานนท์ กระทรวงสาธารณสุข อ.เมือง จ.นนทุบุรี 11000 โทร. 02-591-9623 อีเมล์: rational-use@hotmail.com