สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส 41102

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเขียนผลงานวิชาการ
Advertisements

การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
สื่อการสอนโดยใช้โปรแกรม Power Point
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
ลักษณะของหลักสูตร หลักสูตรที่เน้นเนื้อหาเป็นหลักสำคัญ
โดย นายสุนทร พุกสุข สพป ปทุมธานี เขต 1
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
การออกแบบการจัดการเรียนรู้ สะท้อนธรรมชาติวิทยาศาสตร์
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
นำเสนองาน my mapping เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์ จัดทำโดย
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
ความหมายของโครงงาน โครงงาน หมายถึง กิจกรรมการศึกษาวิชาการงานที่ส่งเสริม สนับสนุนให้นักเรียนได้เลือกขึ้นมาศึกษา ค้นคว้า ริเริ่มสร้างสรรค์ ผลงานตามที่ตนเองมีความถนัด.
ความหมายของวิชาประวัติศาสตร์ศิลปะ
การวางแผนและการดำเนินงาน
วิธีการทางวิทยาการระบาด
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
การวัดและประเมินพัฒนาการของผู้เรียน
การอ่าน วิชาศท ๐๓๑ การใช้ภาษาไทย.
หมวด2 9 คำถาม.
“ เรื่อง ปฏิทินประวัติศาสตร์ ”
สิ่งที่จะเรียนรู้ในวันนี้
กระบวนการทำแผนการจัดการเรียนรู้
นายสุวรรณ ชนะสงคราม ที่ปรึกษาด้านกฎหมายของสำนักงาน ก.พ.
1 การอ่านตำรา การอ่านตำรา.
แบบฝึกคิดวิเคราะห์จากภาพ
การเขียนแผนแบบUBD.
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
การเขียนเกณฑ์การประเมิน (Rubric)
ครูธีระพล เข่งวา นักประวัติศาสตร์ หมายถึง ข้อใด ก. ผู้ที่สามารถเรียน ประวัติศาสตร์ได้ดี ข. อาจารย์ผู้สอน ประวัติศาสตร์ได้ดี ค. ผู้ที่มีประสบการณ์ทาง.
ความหมายของวิทยาศาสตร์
สังคมศึกษา ศาสา และวัฒนธรรม จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดย
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส43102 ผู้สอน….ครูธีระพล เข่งวา
14. การเขียนโครงร่างการวิจัย (แบบ ว -๑) (Proposal)
การประเมินนวัตกรรม Dr.Kulthida Nugultham.
การแบ่งหนังสือออกตามลักษณะการจัดทำและความเหมาะสมของผู้อ่านแต่ละกลุ่ม
การพัฒนานวัตกรรมการศึกษา
ผู้อำนวยกลุ่มการเรียนรู้ (Learning Facilitator)
วิธีการคิดวิเคราะห์.
การวิจัยการบริหาร ทรัพยากรมนุษย์ ดร. สุจิตรา ธนานันท์
ครูจงกล กลางชล. ผลการเรียนรู้ ที่คาดหวัง 2 วิเคราะห์แนวคิดเกี่ยวกับ ความเป็นมาของชนชาติไทย โดย วิธีการทางประวัติศาสตร์ได้
กลุ่มgirls’generation
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส 41102
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส 41102
เครื่องมือที่ใช้ในการวัดผลการศึกษา
โรงเรียนสายธรรม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
9 คำถามหลังเรียน.
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส 41102
บุปผชาติ ทัฬหิกรณ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ครูจงกล กลางชล 1. สรุปแนวคิดเกี่ยวกับ พัฒนาการ ด้าน ความสัมพันธ์ ระหว่าง ประเทศของไทย โดยวิธีการทาง ประวัติศาสตร์ ได้ 2.
กรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น เขตพื้นที่การศึกษา เชียงรายเขต 1
หลักการเขียนโครงการ.
เรื่อง แนวคิดการเมืองการปกครองระบอบประชาธิปไตย
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส 41102
การเขียนรายงานผลการวิจัย
ครูจงกล กลาง ชล 1. ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง วิเคราะห์ เปรียบเทียบ เหตุการณ์ใน ประวัติศาสตร์ไทย ที่แสดงถึง ความสัมพันธ์ใน ความต่อเนื่อง ของเวลาได้ 2.
กลุ่ม คาวาอี้ ~~ จัดทำโดย ชั้น ม.4.11 นางสาว กรรณิการ์ ใจวัง เลขที่ 7
การศึกษาเพื่อสืบสวนหา ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับความเป็นมาของ สิ่งใดสิ่งหนึ่ง หรือเหตุการณ์ใด เหตุการณ์หนึ่ง จากหลักฐานที่ได้มี บันทึกเก็บไว้ หรือประสบการณ์จากผู้รู้
ครูจงกล กลาง ชล 1. ผลการเรียนรู้ที่ คาดหวัง อธิบายกิจกรรมการผลิต ของมนุษย์ขั้นทุติยภูมิได้ 2.
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส 41102
ครูจงกล กลาง ชล 1. วิเคราะห์แนวคิด เกี่ยวกับ เหตุการณ์ที่ ก่อให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงในแต่ ละช่วงสมัย ที่มีผลต่อ พัฒนาการทาง ประวัติศาสตร์ ไทยได้ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง.
CIPP Model : การประกันคุณภาพ
สังคมศึกษา ศาสา และวัฒนธรรม จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดย
ทฤษฎีการวิจารณ์ศิลปะ
ครูจงกล กลางชล 1. 2 สรุปแนวคิดเกี่ยวกับพัฒนาการ ด้านการเมือง – การปกครองโดยใช้ วิธีการทางประวัติศาสตร์ได้
1.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส 41102 ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 กระบวนการทางประวัติศาสตร์(4) เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์ จัดกิจกรรมการเรียนโดย ครู จงกล กลางชล

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง 2 ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง รู้และเข้าใจ ความหมาย ความสำคัญ และขั้นตอนของ วิธีการทางประวัติศาสตร์

วิธีการทางประวัติศาสตร์ * ความหมาย ความสำคัญ และขั้นตอนของวิธีการทาง 3 สาระการเรียนรู้ วิธีการทางประวัติศาสตร์ * ความหมาย ความสำคัญ และขั้นตอนของวิธีการทาง ประวัติศาสตร์

ก. เรื่องราวในอดีตของมนุษย์ 4 ทดสอบก่อนเรียน 1. ข้อใดคือความหมายของ คำว่า ประวัติศาสตร์ ก. เรื่องราวในอดีตของมนุษย์

ข. เรื่องราวของประสบการณ์ ในอดีตของมนุษย์ 5 ข. เรื่องราวของประสบการณ์ ในอดีตของมนุษย์ ค. เรื่องราวที่เกี่ยวกับสิ่งที่ มนุษย์คิด ทำ และเกี่ยวข้อง กับมิติของกาลเวลา ง. ทุกสิ่งที่เกิดขึ้นในอดีต

2. บุคคลในข้อใดที่ได้รับยกย่อง ว่าเป็นบิดาแห่งประวัติศาสตร์ 6 2. บุคคลในข้อใดที่ได้รับยกย่อง ว่าเป็นบิดาแห่งประวัติศาสตร์ ก. อาริสโตเติล ข. เฮโรโดตัส ค. ปโตเรมี ง. ทาลีส

3. ข้อใดคือปัจจัยสำคัญที่ทำให้ เกิดการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์ 7 3. ข้อใดคือปัจจัยสำคัญที่ทำให้ เกิดการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์ ก. ภูมิอากาศ แม่น้ำ และอาหาร ข. อาหาร ที่อยู่อาศัย ยารักษาโรค

ค. สภาพภูมิประเทศ ภูมิอากาศ ทรัพยากร แร่ธาตุ 8 ค. สภาพภูมิประเทศ ภูมิอากาศ ทรัพยากร แร่ธาตุ ง. สภาพภูมิประเทศ ภูมิอากาศ ทรัพยากรอุดมสมบูรณ์

4. ข้อใดไม่ใช่วิธีการทาง ประวัติศาสตร์ ก. รวบรวมหลักฐาน 9 4. ข้อใดไม่ใช่วิธีการทาง ประวัติศาสตร์ ก. รวบรวมหลักฐาน ข. วิเคราะห์หลักฐาน ค. ตัดสินเหตุการณ์ในอดีต ง. นำเสนอเรื่องราวที่ค้นพบ

5. ในชั้นแรกที่ยังไม่มีเครื่องมือ ทางวิทยาศาสตร์ มนุษย์ใช้ 10 5. ในชั้นแรกที่ยังไม่มีเครื่องมือ ทางวิทยาศาสตร์ มนุษย์ใช้ อะไรในการศึกษา เรื่องราว การแบ่งยุคสมัยของพัฒนาการ ของมนุษย์...............................

วิธีการทางประวัติศาสตร์ 11 วิธีการทางประวัติศาสตร์ (Historical Method) การรวบรวม พิจารณาไตร่ตรอง วิเคราะห์และตีความจาก หลักฐานแล้วนำมาเปรียบเทียบ อย่างเป็นระบบ

ผู้ศึกษาประวัติศาสตร์หรือ ฝึกฝนทางประวัติศาสตร์ 12 ความสำคัญของวิธีการ ทางประวัติศาสตร์ ใช้เป็นแนวทางสำหรับ ผู้ศึกษาประวัติศาสตร์หรือ ฝึกฝนทางประวัติศาสตร์

ขั้นตอนวิธีการทางประวัติศาสตร์ 13 ขั้นตอนวิธีการทางประวัติศาสตร์ 1.กำหนดปัญหา * จะค้นคว้าเรื่องอะไร * เป็นเรื่องราวของใคร * มีใครเกี่ยวข้องบ้าง เกิดขึ้น เมื่อไร ที่ไหนสิ่งที่เกิดนั้นคืออะไร

เป็นขั้นตอนแรกของวิธีการ ทางประวัติศาสตร์ (หลักฐานทั้งที่เป็นลายลักษณ์ 14 2. การรวบรวมข้อมูล เป็นขั้นตอนแรกของวิธีการ ทางประวัติศาสตร์ (หลักฐานทั้งที่เป็นลายลักษณ์ อักษรและไม่เป็นลายลักษณ์อักษร)

3.การตรวจสอบและประเมินหลักฐาน 1. การตรวจสอบหลักฐาน - อายุของหลักฐาน 15 3.การตรวจสอบและประเมินหลักฐาน 1. การตรวจสอบหลักฐาน - อายุของหลักฐาน - ผู้สร้างหรือผู้เขียน - จุดมุ่งหมายของการสร้างหลักฐาน 2.การประเมินคุณค่าของหลักฐาน

5.การเรียบเรียงและการนำเสนอ 17 4. การตีความหลักฐาน - การตีความขั้นต้น - การตีความขั้นลึก 5.การเรียบเรียงและการนำเสนอ

กิจกรรม ขั้นตอนและ วิธีการทางประวัติศาสตร์ 17 กิจกรรม ขั้นตอนและ วิธีการทางประวัติศาสตร์ ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5 คนเลือกศึกษาเหตุการณ์ทาง ประวัติศาสตร์เรื่องใดเรื่องหนึ่ง โดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์

1. กำหนดหัวเรื่อง ให้เหตุผล ว่าทำไมจึงเลือก 18 อธิบายอย่างละเอียด 1. กำหนดหัวเรื่อง ให้เหตุผล ว่าทำไมจึงเลือก 2.หาข้อมูลจากแห่งใดประเภทใด 3.ประเมินหลักฐานอย่างไร 4.นำเสนออย่างไร

1.นางนพมาศมีจริงหรือไม่และ เป็นบุคคลในสมัยสุโขทัยจริงหรือ 19 ตัวอย่างเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ 1.นางนพมาศมีจริงหรือไม่และ เป็นบุคคลในสมัยสุโขทัยจริงหรือ 2. พ่อขุนรามคำแหงมหาราช เคย เสด็จไปเมืองจีนจริงหรือไม่

3. พระเจ้าอู่ทองอพยพจากที่ใด 4. สงครามยุทธหัตถีมีขึ้นที่ใด 20 3. พระเจ้าอู่ทองอพยพจากที่ใด 4. สงครามยุทธหัตถีมีขึ้นที่ใด 5. การส่งราชทูตไปเฝ้าพระเจ้า หลุยส์ที่ 14 6. พระราชประวัติของพระเจ้า ตากสินมหาราช

7. การเสด็จประพาสยุโรปของ รัชกาลที่ 5 8. การประกาศสงครามกับฝ่าย 21 7. การเสด็จประพาสยุโรปของ รัชกาลที่ 5 8. การประกาศสงครามกับฝ่าย สัมพันธมิตรในสงครามโลก ครั้งที่ 2

เรื่อง หลักฐานทางประวัติศาสตร์ 22 พบกันใหม่ เรื่อง หลักฐานทางประวัติศาสตร์