นิยาม ศูนย์ให้คำปรึกษาคุณภาพ (Psychosocial Clinic) หน่วยบริการระดับโรงพยาบาลชุมชนที่มีการจัดบริการดูแล ช่วยเหลือทางสังคมจิตใจทุกกลุ่มวัย โดยมีองค์ประกอบ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การดำเนินงานด้านอนามัยการเจริญพันธุ์
Advertisements

ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
กลุ่มพฤติกรรมวัยรุ่น
ผลการคัดกรองโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง
ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
สมรรถนะที่จำเป็นสำหรับผู้รับผิดชอบ การจัดการรายบุคคลในโรงพยาบาล (Case Manager และ Case Management Unit)
โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว
บทเรียน Best Practice ของระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว
สวัสดีครับ.
องค์ประกอบ/กระบวนงานด้านการคุ้มครองเด็ก ในระดับจังหวัดสมุทรสาคร
ผลการพัฒนาระบบการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
งานโรคไม่ติดต่อ กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครราชสีมา
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด
นโยบาย และแนวทางการแก้ไขปัญหาโรคเบาหวาน ระดับประเทศและภูมิภาค
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
ความคาดหวังหลังการประชุมฯ ครั้งนี้
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
สุขภาพจิต ในงานสาธารณสุขไทย 2556.
ยุทธศาสตร์ กรมสุขภาพจิต
การบริการวิกฤตสุขภาพจิตและการปฏิบัติงานทีม MCATTและบทบาทหน้าที่
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
แนวทางการดำเนินงาน และ แผนการดำเนินงาน
การดูแล ผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
โรงพยาบาลสวนสราญรมย์
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
โรคหลอดเลือดสมองเสื่อม
1. 1. กลุ่มองค์กร ปกครองส่วน ท้องถิ่น 2. เจ้าหน้าที่ รพ. สต และ เจ้าที่ในรพ. 3. ครู
คลินิกผู้สูงอายุ อดีต ปัจจุบัน อนาคต
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
เขต 15 เขต 15: เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง แม่ฮ่องสอน.
LOGO งาน High Light การพัฒนา สุขภาพ จังหวัดลพบุรี ประจำปี 2552.
นโยบาย ปฐมภูมิ ลดแออัด พัฒนาคุณภาพบริการ
แผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กลุ่มวัยผู้สูงอายุ 2557
การขับเคลื่อนการดำเนินงานสุขภาพจิตชุมชน
การส่งเสริมสุขภาพป้องกันควบคุมโรค ในกลุ่มเด็กวัยรุ่น วัยเรียน
แนวทางการดำเนินงาน ส่งเสริม ป้องกันและควบคุมโรคธาลัสซีเมีย
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
คู่มือการดูแลทางจิตเวช เพื่อป้องกันปัญหาการฆ่าตัวตาย
ย.๔ พัฒนาระบบบริการสุขภาพวัยรุ่นในสถานบริการ
ส่งเสริมสัญจร.
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
บทเรียนการดำเนินการให้บริการบำบัดผู้เสพยาสูบ แบบครบวงจร
สรุปผลการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อคุ้มครอง
โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์
โดย นายแพทย์เกียรติภูมิ วงศ์รจิต รองอธิบดีกรมสุขภาพจิต
การบันทึกข้อมูล กลุ่มวัยเรียน - วัยรุ่น
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
การดำเนินงาน OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพจังหวัดปทุมธานี
การชี้แจงตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านคุณภาพบริการ ร้อยละของอาเภอที่มีทีม miniMERT, MCATT, SRRT คุณภาพ ธีราภา ธานี พยาบาลวิชาชีพชำนาญ.
การบันทึกข้อมูล กลุ่มวัยเรียน - วัยรุ่น
การดำเนินงานโครงการสำคัญ และตัวชี้วัดความสำเร็จการดำเนินงาน กลุ่มที่ 2 (6.วัยรุ่น 7.วัยทำงาน 8.ป้องกันควบคุมปัจจัยเสี่ยง)
การดำเนินงานสุขภาพจิตเครือข่าย ในเขตสุขภาพที่10 ปีงบประมาณ 2558
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
บูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพ ด้านพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
แนวทางการดำเนินงานสุขภาพจิต กลุ่มวัยทำงาน
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
สกลนครโมเดล.
สรุปประเด็น เรื่อง แนวคิดการจัดการรายกรณีเพื่อการดูแลต่อเนื่อง
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
การป้องกัน การเสริมสร้างบทบาทองค์ ความรู้แก่ผู้นำทาง ความคิดของเด็กและ เยาวชน การพัฒนาความร่วมมือ ของ ภาคีเครือข่าย การขจัดสิ่งยั่วยุและ อิทธิพลจากสื่อ.
ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
กรอบประเด็น คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
หน่วยงานภาครัฐ, อปท. และเอกชนมีสนับสนุน งบประมาณ, ประสานงาน กัน อย่างต่อเนื่องและ เข้มแข็ง ( นาจอมเทียน, บางเสร่, พูลตาหลวง, แสมสาร, สัตหีบ ) มีระบบข้อมูลที่มี
คลินิกสุขภาพเด็กดีคุณภาพ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ร้อยละ ของศูนย์ให้คำปรึกษาคุณภาพ (Psychosocial Clinic) และเชื่อมโยงกับระบบช่วยเหลือ

นิยาม ศูนย์ให้คำปรึกษาคุณภาพ (Psychosocial Clinic) หน่วยบริการระดับโรงพยาบาลชุมชนที่มีการจัดบริการดูแล ช่วยเหลือทางสังคมจิตใจทุกกลุ่มวัย โดยมีองค์ประกอบ ครบ ทั้ง 4 ด้าน

องค์ประกอบ 4 ด้าน 1. บุคลากร มีผู้รับผิดชอบการดูแลท่งสังคมจิตใจ ได้รับการพัฒนาศักยภาพตามประเด็นสำคัญ เช่น สุรา ยาเสพติด ท้องไม่พร้อม ความรุนแรง การ ให้การปรึกษา

2. บริการ มีการใช้กระบวนการดูแลทางสังคมจิตใจ และหรือ การให้การปรึกษาในประเด็นสุรา/ยาเสพติด ท้องไม่พร้อม ความรุนแรง โรคเรื้อรัง/เอดส์ มีการส่งต่อข้อมูล/บริการ และติดตามเพื่อได้รับการ ดูแลต่อเนื่อง ทั้งทางด้านสังคมและจิตใจ เช่น การเยี่ยมบ้าน คลินิกสุขภาพจิตเคลื่อนที่ เป็นต้น

3. บูรณาการ มีการเชื่อมโยงระบบการดูแล ช่วยเหลือ ในภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ การดูแลช่วยเหลือ นักเรียน ในโรงเรียน( OHOS) ระบบการช่วยเหลือทางสังคม ผู้ ได้รับผลกระทบจากความรุนแรงในครอบครัวในศูนย์พึ่งได้ (OSCC)และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในคลินิก เรื้อรัง * ขอให้ทำFlow chart ระบบการช่วยเหลือทาง สังคมจิตใจของโรงพยาบาลชุมชนร่วมกับเครือข่ายที่ เกี่ยวข้องในพื้นที่บริการ (ทั้ง 3 ระบบ)

4.ส่งเสริมสุขภาพจิตและป้องกันปัญหาสุขภาพจิต มีการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพจิตป้องกันและป้องกัน ปัญหาสุขภาพจิต สำหรับกลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยงต่อปัญหา เฉพาะ เช่นการรณรงค์ ให้ความรู้ การอบรมเพื่อป้องกัน ปัญหาสุขภาพจิต การคัดกรอง และเฝ้าระวังปัญหา สุขภาพจิต

4 ประเด็น สุรา/ยาเสพติด ท้องไม่พร้อม (วัยรุ่น) ความรุนแรง OSCC โรคเรื้อรัง/เอดส์

เกณฑ์ ร้อยละ 70 ของโรงพยาบาลชุมชนที่มีการจัดบริการดูแล ช่วยเหลือทางสังคมจิตใจ ทุกกลุ่มวัย ครบทั้ง 4 ด้าน การคำนวณ A = จำนวนโรงพยาบาลชุมชนที่มีการจัดบริการดูแลช่วยเหลือทั้ง สังคมจิตใจทุกกลุ่มวัย ครบทั้ง 4 ด้าน B= จำนวนโรงพยาบาลชุมชนในเครือข่ายบริการ A / B *100