PERT/CPM.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การพิจารณากิจกรรม(งาน)วิกฤติ(ต่อ)
Advertisements

Proprietary and Confidential © Astadia, Inc. | 1.
เป็นการศึกษาผลต่างของประชากรสองกลุ่ม ซึ่งประชากรทั้งสองกลุ่มต้องเป็นอิสระต่อกัน หรือไม่มีความสัมพันธ์กันโดยการกำหนดสมมติฐานในการทดสอบเป็นดังนี้
EEET0462 Electronic Project Management and Design
วันพุธที่ 21 มีนาคม 2555 เวลา น. ณ ตึกสันติไมตรี ทำเนียบรัฐบาล
โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เกี่ยวกับระเบียบกระทรวงการคลัง
Ordering and Liveness Analysis ลำดับและการวิเคราะห์บอกความ เป็นอยู่หรือความตาย.
สมชาย ประสิทธิ์จูตระกูล
บทที่ 11 การวิเคราะห์โครงข่ายงาน PERT/CPM
การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชี้ สกอ. และ สมศ.
เนื้อหา ประเภทของโปรแกรมภาษา ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
Project Management.
Formulate Mathematical Model
Office Timeline เครื่องมือสำหรับการบริหารจัดการ
ตัวแปรชุด.
Object-Oriented Analysis and Design
การควบคุมข่ายงาน (PERT/CPM)
(เฟส 1 ระยะทดลองใช้งาน อรม.อร.)
Use Case Diagram.
การออกแบบโปรแกรมอย่างมีโครงสร้าง Structured Design
บทที่ 4 การโปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming)
พฤติกรรมผู้บริโภค.
Chapter 6: Project Time Management
การทำความเข้าใจกับงบทดลอง
SCC : Suthida Chaichomchuen
Analyzing The Business Case
Civil Engineering and Construction Management การบริหารการก่อสร้าง
Time cost tradeoff โดย อ.ดร.เทอดธิดา ทิพย์รัตน์ สาขาบริหารการก่อสร้าง ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
Resource Leveling การจัดการทรัพยากร
การบริหารโครงการ (Project anagement)
Process Analysis 2 การวิเคราะห์กระบวนการ
การวิเคราะห์ขบวนการผลิต (Process Analysis)
Process Analysis การวิเคราะห์กระบวนการ
การยกเว้นไม่ต้องปฏิบัติตามระเบียบพัสดุ
โครงสร้างข้อมูลแบบคิว
สัปดาห์ที่ 14 ผลตอบสนองต่อความถี่ Frequency Response (Part II)
วิธีสายงานวิกฤต Critical Path Method แบบ Activity on Node.
วิธีสายงานวิกฤต Critical Path Method แบบ Activity on Arrow.
บทที่ 3 การวิเคราะห์ Analysis.
IV > Critical Path Method (CPM)
Week 5 : การบริหารโครงการ
Week 6 : การบริหารโครงการ
บทที่ 3 การทำงานกับฟอร์ม (Form)
บทที่ 3 การทำงานกับฟอร์ม (Form)
วิชา COSC2202 โครงสร้างข้อมูล (Data Structure)
การประเมินค่างาน ดร. สุจิตรา ธนานันท์.
การทำผลงานวิชาการ สงวนลิขสิทธิ์.....โดย ดร.สุรชาติ สังข์รุ่ง.
การสั่งซื้อสินค้า ทางอินเตอร์เน็ต
ซีเควนซ์ไดอะแกรม(Sequence Diagram)
การเร่งโครงการ Expedite Project.
Shortest-Path Algorithms
School of Information Communication Technology,
Tall Teak Plaza จุดนัดพบของคนมีสไตล์ สนใจพื้นที่เช่า-พื้นที่โฆษณา
สำนักงานสหกรณ์ จังหวัดสมุทรสงคราม สหกรณ์ก้าวไกล ด้วยน้ำ พระทัยในหลวง.
การกำหนดโครงการ (Project Scheduling: PERT / CPM)
สื่อการสอนด้วยโปรมแกรม “Microsoft Multipoint”
อัลกอริทึมแบบละโมบ.
บทที่ 2 กำหนดการเชิงเส้น : การแก้ปัญหาด้วยวิธีกราฟ (ต่อ)
บทที่ 6 การจัดการโครงการ Project Management ญาลดา พรประเสริฐ.
ต้นไม้ Tree [3] ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
การแบ่งแยกและเอาชนะ Divide & Conquer
การกำหนดอัตราเงินเดือน สำหรับคุณวุฒิที่ ก.พ.รับรอง
โครงการเทคนิคและเทคโนโลยีสนับสนุนงานตรวจสอบ “Risk & Control” จัดโดย สำนักงานตรวจสอบภายใน จุฬาฯ วันที่ 22 กรกฎาคม 2553.
การบริหารโครงการด้วย PERT & CPM
บทที่ 6 การกำหนดเวลางานโครงการ
การกำหนดตารางเวลาโครงการ
บทที่ 7 การวิเคราะห์โครงข่ายงาน PERT/CPM
Project Management การวางแผนและการควบคุมโครงการด้วยเทคนิค PERT และ CPM
ใบสำเนางานนำเสนอ:

PERT/CPM

รวมระยะเวลา (สัปดาห์) Activities Predecessor Duration A - 2 B 3 C D A, B 4 E F G D, E 5 H F, G   รวมระยะเวลา (สัปดาห์) 25

จงเขียนโครงข่ายงานแบบ AOA

จงเขียนโครงข่ายงานแบบ AON

Using Critical Path Analysis to Make Schedule Trade-offs A forward pass through the network diagram determines the earliest start and finish dates. A backward pass determines the latest start and finish dates. Float or Slack is the amount of time that an activity can delay without delaying the project

Earliest Start and Finish Steps เวลาเริ่มเร็วที่สุด (Earliest start (ES)) คือเวลาเร็วที่สุดที่กิจกรรมหนึ่งสามารถเริ่มต้นทำได้ โดย สมมติว่ากิจกรรมก่อนหน้าทั้งหมดได้ทำเสร็จแล้ว เวลาสิ้นสุดเร็วที่สุด (Earliest finish (EF)) คือเวลาที่เร็วที่สุดที่กิจกรรมหนึ่งสามารถทำเสร็จได้ เวลาเริ่มช้าที่สุด (Latest start (LS)) คือเวลาที่ช้าที่สุดที่กิจกรรมหนึ่งสามารถเริ่มต้นทำได้ โดยไม่มีผล ทำให้เกิดความล่าช้าแก่โครงการ เวลาสิ้นสุดช้าที่สุด (Latest finish (LF)) คือเวลาที่ช้าที่สุดที่กิจกรรมหนึ่งสามารถทำเสร็จได้ โดยไม่มี ผลทำให้เกิดความล่าช้าแก่โครงการ

Earliest Start and Finish Steps Begin at starting event and work forward ES = 0 for starting activities ES is earliest start EF = ES + Activity time EF is earliest finish ES = Maximum {EF of all immediate predecessors}

Latest Start and Finish Steps Begin at ending event and work backward LF = Maximum EF for ending activities LF is latest finish; EF is earliest finish LS = LF - Activity time LS is latest start LF = Minimum {LS of all immediate successors}

Latest Start and Finish Steps Latest Finish ES LS EF LF Earliest Finish Latest Start Earliest Start Activity Name Activity Duration

Activities and Predecessors Activity Immediate Predecessors Duration (week) A - 2 B 3 C D A, B 4 E F G D, E 5 H F, G

Earliest Start and Earliest Finish Times 2 LS of A LS of A = ES of A +2 LS of C = EF of A F H 4 3 7 C 2 4 H C F H E 4 8 2 H 13 2 15 H Start B ES H 3 EF Activity Name =Max(2,3) D H 3 4 7 Activity Duration G H 8 5 13 ES= Max(ES of D, EF of E) = Max(8,7) = 8

Latest Start and Latest Finish Times 4 10 3 7 13 ES EF A H 2 C H 2 4 LS LF = Min(LS of E, LS of E) = Min(4,10) = 4 LF = Min(2,4) = 2 H Start H 13 2 15 F H E 4 8 Start Activity Name B H 1 3 4 D H 3 4 7 8 G H 8 5 13 Activity Duration LS = LF- 4

Critical Path and Slack Time Start A B C D F G H 13 2 15 8 5 4 10 3 7 E 1 Slack=0 Slack=6 Slack=1

Slack Time Activity ES EF LS LF Slack LS-ES On Critical Path A 2 Y B 3 2 Y B 3 1 4 N C D 7 8 E F 10 13 6 G H 15

Activities Predecessor Duration A - 4 B 7 C 8 D 14 E B, C 5 F G D, E 6

การเร่งรัดโครงการ ในบางกรณีผู้บริหารต้องการให้โครงการเสร็จเร็วกว่ากำหนด สามารถทำได้โดยการระดมทรัพยากรต่างๆ เช่น แรงงาน เครื่องจักรมาใช้ในกิจกรรมวิกฤตมากขึ้น เราเรียกการลดเวลาของโครงการโดยการระดมทรัพยากรว่า การเร่งรัดโครงการ (crashing project)

ขั้นตอนการเร่งรัดโครงการ หาความสัมพันธ์ระหว่างเวลาแล้วเสร็จและค่าใช้จ่ายในการดำเนินกิจกรรมปกติของทุกกิจกรรมในโครงการ วิเคราะห์หาเส้นทางวิกฤตเพื่อทราบถึงกิจกรรมวิกฤต รวบรวมค่าใช้จ่ายในการเร่งรัดกิจกรรมวิกฤต 4. เลือกเร่งกิจกรรมวิกฤตที่มีค่าใช้จ่ายในการเร่งงานต่ำสุดก่อนโดยการเร่งรัดทีละหน่วยเวลาจนกว่าจะได้เวลาแล้วเสร็จตามที่ต้องการ

เวลาแล้วเสร็จเร็วที่สุด ค่าใช้จ่ายในการเร่งรัด/วัน (บาท) ตัวอย่าง โครงการหนึ่งมีค่าใช้จ่ายปกติวันละ 1,250 บาท กิจกรรม   กิจกรรมที่มาก่อน เวลาแล้วเสร็จปกติ เวลาแล้วเสร็จเร็วที่สุด ค่าใช้จ่ายในการเร่งรัด/วัน (บาท) A B C D E F - A, B, C 7 11 6 5 10 3 9 2 8 600 400 800 700 900

ค่าใช้จ่ายในการเร่งรัด/วัน (บาท) จำนวนวันที่เร่งรัดได้ ขั้นตอนการพิจารณาเมื่อเร่งรัดโครงการ หาสายงานวิกฤต คือ C D E F, B E F โครงการใช้เวลาแล้วเสร็จ 24วัน จัดลำดับกิจกรรมวิกฤต ตามค่าใช้จ่ายในการเร่งรัดกิจกรรม กิจกรรม ค่าใช้จ่ายในการเร่งรัด/วัน (บาท) จำนวนวันที่เร่งรัดได้ C B E D F 400 600 700 800 900 1 2 3 3.เริ่มเร่งรัดโดยเลือกกิจกรรมที่มีค่าใช้จ่ายในการเร่งรัดต่ำสุด ในที่นี้คือกิจกรรม C, B มีค่าใช้จ่ายในการเร่งรัด 400, 600 บาท สามารถเร่งได้ 1 วัน โครงการจะแล้วเสร็จใน 23 วัน

ค่าใช้จ่ายในการเร่งรัด/วัน (บาท) จำนวนวันที่เร่งรัดได้ ขั้นตอนการพิจารณาเมื่อเร่งรัดโครงการ หาสายงานวิกฤต คือ C D E F, B E F โครงการใช้เวลาแล้วเสร็จ 23วัน จัดลำดับกิจกรรมวิกฤต ตามค่าใช้จ่ายในการเร่งรัดกิจกรรม กิจกรรม ค่าใช้จ่ายในการเร่งรัด/วัน (บาท) จำนวนวันที่เร่งรัดได้ C B E D F 400 600 700 800 900 1 2 3 3.เริ่มเร่งรัดโดยเลือกกิจกรรมที่มีค่าใช้จ่ายในการเร่งรัดต่ำสุด ในที่นี้คือกิจกรรม E มีค่าใช้จ่ายในการเร่งรัด 700 บาท สามารถเร่งได้ 1 วัน โครงการจะแล้วเสร็จใน 22 วัน

ค่าใช้จ่ายในการเร่งรัด/วัน (บาท) จำนวนวันที่เร่งรัดได้ ขั้นตอนการพิจารณาเมื่อเร่งรัดโครงการ หาสายงานวิกฤต คือ C D E F, B E F โครงการใช้เวลาแล้วเสร็จ 22วัน จัดลำดับกิจกรรมวิกฤต ตามค่าใช้จ่ายในการเร่งรัดกิจกรรม กิจกรรม ค่าใช้จ่ายในการเร่งรัด/วัน (บาท) จำนวนวันที่เร่งรัดได้ C B E D F 400 600 700 800 900 1 3 3.เริ่มเร่งรัดโดยเลือกกิจกรรมที่มีค่าใช้จ่ายในการเร่งรัดต่ำสุด ในที่นี้คือกิจกรรม E มีค่าใช้จ่ายในการเร่งรัด 700 บาท สามารถเร่งได้ 1 วัน โครงการจะแล้วเสร็จใน 21 วัน

ค่าใช้จ่ายในการเร่งรัด/วัน (บาท) จำนวนวันที่เร่งรัดได้ ขั้นตอนการพิจารณาเมื่อเร่งรัดโครงการ หาสายงานวิกฤต คือ C D E F, B E F โครงการใช้เวลาแล้วเสร็จ 21 วัน จัดลำดับกิจกรรมวิกฤต ตามค่าใช้จ่ายในการเร่งรัดกิจกรรม กิจกรรม ค่าใช้จ่ายในการเร่งรัด/วัน (บาท) จำนวนวันที่เร่งรัดได้ C B E D F 400 600 700 800 900 1 3 3.เริ่มเร่งรัดโดยเลือกกิจกรรมที่มีค่าใช้จ่ายในการเร่งรัดต่ำสุด ในที่นี้คือกิจกรรม F มีค่าใช้จ่ายในการเร่งรัด 900 บาท สามารถเร่งได้ 1 วัน โครงการจะแล้วเสร็จใน 20 วัน

สรุป เร่งรัดกิจกรรม C 1 วัน ค่าใช้จ่าย 400 บาท เร่งรัดกิจกรรม B 1 วัน ค่าใช้จ่าย 600 บาท เร่งรัดกิจกรรม E 2 วัน ค่าใช้จ่าย 1,400 บาท เร่งรัดกิจกรรม F 1 วัน ค่าใช้จ่าย 900 บาท รวม 5 วัน 3,300 บาท