ความหมายและความสำคัญเกษตรทฤษฎีใหม่

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ทฤษฎีใหม่.
Advertisements

การประชุมแผนแม่บทพัฒนาลุ่มน้ำในเขตอำเภอแม่จัน 31 มีนาคม 2553 ณ ลานทองอุทยานวัฒนธรรมลุ่มน้ำโขง แผนพัฒนาลุ่มน้ำในเขตอำเภอแม่จัน.
ด.ญ.กชกร โชคเฉลิมวงศ์ เลขที่ 15 ป.4/3
เศรษฐกิจ พอเพียง.
นางกาญจนา แย้มลักษณะเลิศ
การประยุกต์ใช้แนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง เงื่อนไขการตัดสินใจ แนวทางปฏิบัติ หลักพิจารณา
โครงการปิดทองหลังพระ
การจัดทำโครงการเฉลิมพระเกียรติ
เศรษฐกิจพอเพียง.
เศรษฐกิจพอเพียง M2A จัดทำโดย 1.ด.ช.สาโรจน์ อินทรไชย เลขที่ 16
โครงงาน โรงเรียนฝางวิทยายน ผู้จัดทำ 1.นายสุทิน สีละโคตร เลขที่11
เศรษฐกิจพอเพียง.
บทที่ 3 ทรัพยากรดิน.
เกษตรตามแนว ทฤษฏีใหม่
Green Village บ้านคลองกั่ว หมู่ 7 ต.เขาพระ อ.รัตภูมิ จ. สงขลา.
เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
เศรษฐกิจแบบพอเพียง.
การใช้ทรัพยากรเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
วิธีการสหกรณ์ อุดมการณ์ หลักการ นายบรรทูรย์ ราชิวงค์
บทบาทหน้าที่ผู้ตรวจราชการกรม
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดสิงห์บุรี
โครงการ “เหรียญห้า เหรียญสิบ รอมริบเอาไว้”
จัดทำโดย ด.ช.วริศ วิโรจนวัธน์
เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม
เศรษฐกิจพอเพียง ด.ญ.กิตติมา สุภโรจนีย์ ป.4/6
ด.ช.ณัฐนันท์ขาววิเศษ เลขที่1ป4/6
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่ภูมิพลอดุลยเดช
จัดทำโดย ด.ญ.ดวงเดือน รักนุ้ย ชั้น ป.4/2 เลขที่31
ด.ญ.สุพรรณิกา วัฒนภูษิตสกุณ
โดยเด็กชายทรงธรรม รูปสวยดี
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
เมนูหลัก เนื้อหา อาจารย์ที่ปรึกษา ประวัติผู้จัดทำ.
สภาพทั่วไป ด้านปฏิรูปการให้บริการ / สนับสนุน (Management Reform) ที่โครงการวัตถุประสงค์ เป้าหม าย 1212 ฝึกอบรมการเพิ่ม ผลผลิต มันฯ, ข้าว, โค, บริหาร วิสาหกิจฯ.
นโยบายของท่านเลขาธิการ ส.ป.ก. ด้านการพัฒนาแหล่งน้ำและระบบชลประทาน
โครงการพัฒนาและรณรงค์การใช้หญ้าแฝกอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
วาระที่ การจัดทำแผนพัฒนาแหล่งน้ำ
เกษตรทฤษฎีใหม่.
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
น.ส.ผาณิตดา แสนไชย รหัสนักศึกษา
น.ส.ผาณิตดา แสนไชย รหัสนักศึกษา
แบ่งออกเป็น 3หมวด คือ 1. ข้อมูลหมวด ก. เป็นข้อมูลส่วนบุคคลของ เกษตรกร ประกอบด้วย ข้อ 1. ลักษณะการประกอบการเกษตร ข้อ 2. สมาชิกในครัวเรือนที่ร่วมกิจกรรม.
ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชนตามแนวพระราชดำริ (โรงเรียนแก้จนคนท้องถิ่น อำเภอแม่วาง จังหวัดเชียงใหม่)
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
เกษตรทฤษฎีใหม่.
เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง หลวงในรักเรา เรารักในหลวง
การสัมมนากลุ่มย่อย เรื่อง แนวทางและวิธีการลดต้นทุนการผลิตทางการเกษตร แนวทางการปฏิบัติงานโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ ภายใต้การสร้างต้นแบบการทำงานร่วมกัน.
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สาระที่ ๑ : ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
หลักการ และแผนงานการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์อยู่ดีมีสุขระดับจังหวัด ปีงบประมาณ 2551 สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 20 กรกฎาคม 2550.
พ่อของแผ่นดิน.
ทรัพยากรในทางเศรษฐศาสตร์
ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชนตามแนวพระราชดำริ (โรงเรียนแก้จนคนท้องถิ่น อำเภอแม่วาง จังหวัดเชียงใหม่)
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช
นายพนาสิน หอมจิตต์ ชั้น ปวช 1 เลขที่ 11 กลุ่ม 1 แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
การวิจัย และองค์ความรู้จากโครงการหลวง
เศรษฐกิจพอเพียง โดย ด.ช.พีรดนย์ ศรีสอน.
ประวัติความเป็นมา เมื่อวันที่ 5 มกราคม 2540 สมเด็จพระนาง เจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ได้เสด็จเยี่ยมราษฎรที่ บ้านทิพุเย หมู่ที่ 3 ต. ชะแล อ. ทองผาภูมิ และได้มี
จัดทำโดย ด.ช. ดิเรกรัตน์ ด่านลัมจาก เลขที่3
จะสำเร็จได้ด้วย ความพอดีของตน
เศรษฐกิจพอเพียง.
ผู้สอน นางพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายมะหะหมัด โต๊ะยะลา
ในแผนกการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว ปีการศึกษา 2555
การเขียนรายงานผล การดำเนินงานตามระบบส่งเสริมการเกษตรมิติใหม่ (MRCF)
เกษตรที่ยั่งยืน วนเกษตร.
เศรษฐกิจพอเพียง " จะสำเร็จได้ด้วย " ความพอดีของตน " จัดทำโดย นายยศพล ปรางค์ภูผา ระดับ ปวช 1 กลุ่ม 3 เลขที่ 17 แผนกช่างยนต์ เสนออาจารสมคิด มีมะจำ.
ผลสัมฤทธิ์ของปราชญ์ : กรณีประเมินผล ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้าน
เศรษฐกิจพอเพียง นางสาวสุนิสา จันทร์ตะบูน ชั้น ปวช 1 เลขที่ 20 กลุ่ม 2
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความหมายและความสำคัญเกษตรทฤษฎีใหม่ การทำเกษตรทฤษฎีใหม่ เป็นทฤษฎีแห่งการใช้ทรัพยากรธรรมชาติและการบริหารงานในการทำการเกษตรที่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชมหาราช ทรงพระราชทานแก่พสกนิกรชาวไทย เพื่อแก้ไขปัญหาการเกษตร

เกษตรทฤษฎีใหม่ ตั้งอยู่บนกรอบแนวคิดของหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งหลักปรัชญานี้ประกอบด้วย 3 หลักการ และ 2 เงื่อนไข

หลักการสำคัญของเกษตรทฤษฎีใหม่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชทาน "ทฤษฎีใหม่" ให้ดำเนินการในพื้นที่ทำกินที่มีขนาดเล็กประมาณ 15 ไร่ ด้วยวิธีการจัดสรรที่ดินให้เหมาะสมกับการเกษตรแบบผสมผสานอย่างได้ผล เพื่อให้เกษตรกรมีรายได้ใช้จ่ายตลอดปี ซึ่งได้ดำเนินการอย่างแพร่หลายในปัจจุบัน ซึ่งการพัฒนาตามแนวทาง "ทฤษฎีใหม่" นี้มีความจำเป็นต้องประยุกต์ใช้ในเหมาะสมกับ สภาพภูมิประเทศและสิ่งแวดล้อมจึงจะเกิดประโยชน์สูงสุด 

เกษตรทฤษฎีใหม่ซึ่งเป็นแนวทางปฏิบัติหนึ่งของหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มีขั้นตอนของการพัฒนาแบ่งออกได้ 3 ขั้น คือ ขั้นที่ 1 ทฤษฎีใหม่ขั้นต้น เริ่มต้นจากการมุ่งแก้ปัญหาของเกษตรกรที่มีน้ำไม่เพียงพอสำหรับการเกษตร โดยการใช้แนวทางการจัดทำแหล่งน้ำขนาดเล็กในฟาร์ม ส่วนที่ดินการเกษตรอื่นจะใช้ในการผลิตเพื่อตอบสนองกับความต้องการพื้นฐานอื่นของครอบครัว การเกษตรทฤษฎีใหม่ในขั้นนี้ จึงเป็นการสร้างภูมิคุ้มกันในระดับครอบครัว ในเกษตรทฤษฎีใหม่ขั้นต้นนี้ มีแนวทางสำคัญในการการจัดสรรที่ดินการเกษตรและที่อยู่อาศัย โดยแบ่งพื้นที่ ออกเป็น 4 ส่วน ตามอัตราส่วน 30:30:30:10 คือ

การแบ่งพื้นที่ทำกินตามหลักเกษตรทฤษฎีใหม่ 30% ขุดสระเก็บกักน้ำ 30% ปลูกข้าว 30:30:30:10 10% เป็นที่อยู่อาศัย และอื่นๆ 30% ปลูกผลไม้ ไม้ยืนต้น พืชไร่ พืชผัก

ขั้นที่ 2 ทฤษฎีใหม่ขั้นกลาง เมื่อเกษตรกรได้เริ่มต้นปฏิบัติตามเกษตรทฤษฎีใหม่ขั้นต้นแล้ว มีความพอเพียงและความมั่นคงในขั้นพื้นฐานระดับหนึ่งแล้ว ขั้นตอนต่อมาจึงเป็นเรื่องของการรวมกลุ่มเกษตรกร เช่น กลุ่มเกษตรกร สหกรณ์ หรือวิสาหกิจ ซึ่งการร่วมมือกันนี้ก็เพื่อสร้างประโยชน์ให้เกิดขึ้นกับกลุ่มโดยรวม บนพื้นฐานของการไม่เบียดเบียนกัน การแบ่งปันช่วยเหลือกันตามกำลัง และความสามารถของตน

ขั้นที่ 3 ทฤษฎีใหม่ขั้นก้าวหน้า กลุ่มเกษตรกรที่ได้ดำเนินการตามทฤษฎีใหม่ในขั้นกลาง จนประสบความสำเร็จเบื้องต้น อาจก้าวเข้าสู่ขั้นก้าวหน้า โดยการประสานความร่วมมือกับองค์กรอื่นๆ ในระดับประเทศ เพื่อยกระดับการทำธุรกิจ และการพัฒนาคุณภาพชีวิตของเกษตรกร ในประเทศไทย มีหน่วยงานจำนวนมาก โดยเฉพาะหน่วยงานราชการ ที่ส่งเสริมเกษตรทฤษฎีใหม่  แต่หน่วยงานประสานงานหลักเกี่ยวกับการส่งเสริมเกษตรทฤษฎีใหม่ คือ มูลนิธิชัยพัฒนา

ประโยชน์ของทฤษฎีใหม่ - ประชาชนพออยู่พอกินในระดับประหยัด เลี้ยงตนเองได้ ไม่อดอยาก ตามหลักปรัชญาของ "เศรษฐกิจพอเพียง" - ในหน้าแล้งก็สามารถนำน้ำที่เก็บกักไว้ในสระมาปลูกพืชที่ใช้น้ำน้อย เช่น ถั่วต่างๆ ได้ โดยไม่ต้องอาศัยชลประทาน - ในปีที่ฝนตกตามฤดูกาล ก็สามารถสร้างรายได้ให้ร่ำรวยได้ - ในกรณีที่เกิดอุทกภัย ก็สามารถฟื้นตัว และช่วยตัวเองได้ใน ระดับหนึ่ง โดยราชการไม่ต้องช่วยเหลือมากนัก

เกษตรทฤษฎีใหม่ จัดทำโดย กลุ่มที่4 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่5/8 1 เกษตรทฤษฎีใหม่ จัดทำโดย กลุ่มที่4 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่5/8 1.นายณัฐพล ประจวบ เลขที่1 2.นายภาณุพงศ์ มะโนสีลา เลขที่2 3.นางสาวกัลยรัตน์ เหมืองพลอย เลขที่9 4.นางสาวฐิตาภา ศุภจิตรานนท์ เลขที่13 5.นางสาวฐิติวรดา สันป่าเป้า เลขที่14 6.นางสาวธนัชพร เวียงนาค เลขที่21 7.นางสาวปานมาศ สุวรรณกาศ เลขที่27 8.นางสาวภัทรสุดา แสนใจยา เลขที่32