Java Programming Java Structure and Datatype,Variable

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงสร้างโปรแกรมภาษา JAVA
Advertisements

อาจารย์ปิยศักดิ์ ถีอาสนา
Computer Language.
Introduction to C Introduction to C.
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โดยอาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์ ครูชำนาญการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
Introduction to C Programming
Department of Computer Business
บทที่ 1 หลักการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น ภาษา C#
หลักการโปรแกรม 1 Lecture 3: ตัวแปร, นิพจน์คณิตศาสตร์, การคำนวณทางคณิตศาสตร์,การดำเนินการกับสายอักขระ.
Structure Programming
ชนิดของข้อมูลและตัวดำเนินการ
Week 6 ประกาศค่าตัวแปร.
รับและแสดงผลข้อมูล.
PHP LANGUAGE.
Properties ของคอนโทรล ที่ควรรู้จักในเบื้องต้น
ฟังก์ชั่น function.
การเขียนโปรแกรมภาษาจาวาตอนที่ ๓
Lecture no. 2: Overview of C Programming
ครั้งที่ 7 Composition.
การประกาศตัวแปร “ตัวแปร” คือสิ่งที่เราสร้างขึ้นมาเพื่อใช้เก็บค่าต่างๆและอ้างอิงใช้งานภายในโปรแกรม ตามที่เรากำหนดขึ้น การสร้างตัวแปรขึ้นมาเราเรียกว่า.
หลักการเชิงวัตถุ อาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์
Selected Topics in IT (Java)
Network programming Asst. Prof. Dr. Choopan Rattanapoka
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
ส่วนของการเขียนโค๊ด ใน VB การเขียนโค๊ดจะเป็นแบบ Event Driven
Php Variable , Expression Professional Home Page :PHP
การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ ด้วยภาษาจาวา
บทที่ 3 Class and Object (1) การสร้างและการใช้งานคลาส
บทที่ 4 Method (1).
ข้อมูลพื้นฐานและตัวดำเนินการ
C# Programming Exceed Camp: Day 3.
Javascripts.
ตัวแปร (variable) ตัวแปร เป็นชื่อที่เราตั้งขึ้น เพื่อให้คอมพิวเตอร์เตรียมที่ใน หน่วยความจำไว้สำหรับเก็บข้อมูลที่นำไปประมวลผล การตั้งชื่อตัวแปร ชื่อตัวแปรในภาษา.
สตริง (String).
Inheritance การสืบทอดคลาส
ตัวแปร (Variable) คือ ชื่อที่ตั้งขึ้นเพื่อเก็บข้อมูลในหน่วยความจำ สามารถเก็บข้อมูลชนิดใดก็ ได้ ลักษณะที่สำคัญ ค่าที่จัดเก็บ เมื่อปิดโปรแกรมข้อมูลจะหายไป.
ชนิดของข้อมูล ตัวแปร และตัวดำเนินการ
Introduction to C Language
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
ตัวแปรในภาษา JavaScript
ง30212 พื้นฐานการเขียนโปรแกรม ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
ชนิดของข้อมูล ตัวแปร และตัวดำเนินการ
โปรแกรมภาษาจาวาเบื้องต้น Basic Java Programming 3(2-2-5)
Liang, Introduction to Java Programming, Sixth Edition, (c) 2007 Pearson Education, Inc. All rights reserved Java Programming Language.
HTML, PHP.
ตัวแปร ชนิดข้อมูล และค่าคงที่
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
Method of Class อ.สุพจน์ สิงหัษฐิต
Week 2 Variables.
Computer Programming for Engineers
การเขียนโปรแกรม ตอนที่ 1 (ต่อ)
Object-Oriented Programming
Overview of C Programming
บทที่ 3 ชนิดข้อมูล ตัวแปร นิพจน์และตัวดำเนินการ
คำสั่งเกี่ยวกับการรับ และแสดงผล
ตัวแปร Array แบบ 1 มิติ การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ
สายอักขระ เขียนโปรแกรม Java เบื้องต้น.
อาจารย์ปิยศักดิ์ ถีอาสนา
การแสดงผลและการรับข้อมูล (Data Output and Input)
พื้นฐานการเขียนโปรแกรมด้วย C#
หน่วยที่ 4 โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
บทที่ 2 โครงสร้างของภาษา C.
การกระทำทางคณิตศาสตร์
ตัวแปร และชนิดข้อมูล.
chapter 2 - Construction and destruction - Overloading method
บทที่ 6 ตัวแปรชุดและ สตริง รายวิชา ง การเขียนโปรแกรมเชิง วัตถุ Reading: ใบความรู้ บทที่ 6.
Variable, Constant. Variable คือชื่อที่ตั้งขึ้นมาเพื่อจองพื้นที่ใน หน่วยความจำสำหรับ พักข้อมูล.
บทที่ 3 การสืบทอด (Inheritance)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Java Programming Java Structure and Datatype,Variable

Java Structure import acm.program.*; public class ชื่อคลาส extends ConsoleProgram { public void run() //คำสั่งต่างๆ }

เป็นการ import package ที่เราต้องการจะใช้งาน เข้ามาในโปรแกรม import acm.program.*; public class ชื่อคลาส extends ConsoleProgram { public void run() //คำสั่งต่างๆ } เป็นการ import package ที่เราต้องการจะใช้งาน เข้ามาในโปรแกรม (Star ( * ) เป็นการระบุว่าเราจะ import เข้ามาทั้ง package)

ประกาศคลาสชนิด public import acm.program.*; public class ชื่อคลาส extends ConsoleProgram { public void run() //คำสั่งต่างๆ } ประกาศคลาสชนิด public (การตั้งชื่อคลาส ต้องเป็นชื่อเดียวกับที่เราตั้งตอนสร้างคลาส)

import acm.program.*; public class ชื่อคลาส extends ConsoleProgram { public void run() //คำสั่งต่างๆ } เป็น “การสืบทอดคลาส” package acm จะมีการ extends อยู่ 3 คลาสหลักๆ คือ ConsoleProgram , DialogProgram และ GraphicsProgram

ขอบเขตของ class import acm.program.*; public class ชื่อคลาส extends ConsoleProgram { public void run() //คำสั่งต่างๆ } ขอบเขตของ class

method นี้ จะเป็น method หลักในการ run program import acm.program.*; public class ชื่อคลาส extends ConsoleProgram { public void run() //คำสั่งต่างๆ } เป็นการประกาศ method method นี้ จะเป็น method หลักในการ run program

ขอบเขตของ method import acm.program.*; public class ชื่อคลาส extends ConsoleProgram { public void run() //คำสั่งต่างๆ } ขอบเขตของ method

คำสั่งที่ใช้เพื่อแสดงผล print -> ใช้เพื่อแสดงผล โดยไม่ขึ้นบรรทัดใหม่ หลังแสดงผลเสร็จ println -> ใช้เพื่อแสดงผล โดยขึ้นบรรทัดใหม่ หลังแสดงผลเสร็จ

ตัวอย่างโปรแกรมที่ 1 import acm.program.*;   public class Test extends ConsoleProgram { public void run(){ println("Hello ,world !! ^^"); }

ตัวอย่างโปรแกรมที่ 1 import acm.program.*;   public class Test extends ConsoleProgram { public void run(){ println("Hello ,world !! ^^"); } Hello ,world !! ^^

การต่อสตริง สามารถเอาข้อความมาต่อกันได้ โดยใช้เครื่องหมาย + คั่น

ตัวอย่างโปรแกรมที่ 2 import acm.program.*;   public class Test extends ConsoleProgram { public void run() { println(“Hello ,” + “World.”); }

ตัวอย่างโปรแกรมที่ 2 Hello, World. import acm.program.*;   public class Test extends ConsoleProgram { public void run() { println(“Hello ,” + “World.”); } Hello, World.

Datatype , Variable int เก็บข้อมูลประเภทจำนวนเต็ม double เก็บข้อมูลประเภทจำนวนจริง เช่น ทศนิยม char เก็บข้อมูลประเภทอักขระ String เก็บข้อมูลประเภทข้อความ boolean เก็บ true or false

กฎการตั้งชื่อตัวแปร ชื่อต้องประกอบด้วย ตัวอักษร ตัวเลข $ หรือ _ ชื่อห้ามขึ้นต้นด้วยตัวเลข สามารถตั้งชื่อยาว ๆ ได้ ชื่อตัวอักษรตัวเล็กกับตัวใหญ่ถือว่าต่างกัน ต้องไม่ซ้ำกับคำสงวนของภาษาจาวา

คำสงวนในภาษา Java

รูปแบบการประกาศตัวแปร แบบไม่กำหนดค่าเริ่มต้น datatype name; แบบกำหนดค่าเริ่มต้น datatype name = initial value;

ตัวอย่างการประกาศตัวแปร int a = 4; double b = 3.5; char c = 'A'; String d = "Hello"; boolean e = true;

ตัวอย่างการแสดงผลตัวแปร println(ชื่อตัวแปร); ได้เลย โดยไม่ต้องอยู่ใน double quote ตัวอย่างการแสดงผลตัวแปร int a = 4; println(a);

ตัวอย่างโปรแกรมที่ 3 import acm.program.*;   public class Test extends ConsoleProgram { public void run(){ int x; double y = 3.5; x = 10; print(y + ” ”); println(x); }

ตัวอย่างโปรแกรมที่ 3 x = ? import acm.program.*;   public class Test extends ConsoleProgram { public void run(){ int x; double y = 3.5; x = 10; print(y + ” ”); println(x); } x = ?

ตัวอย่างโปรแกรมที่ 3 x = ? y = 3.5 import acm.program.*;   public class Test extends ConsoleProgram { public void run(){ int x; double y = 3.5; x = 10; print(y + ” ”); println(x); } x = ? y = 3.5

ตัวอย่างโปรแกรมที่ 3 x = 10 y = 3.5 import acm.program.*;   public class Test extends ConsoleProgram { public void run(){ int x; double y = 3.5; x = 10; print(y + ” ”); println(x); } x = 10 y = 3.5

ตัวอย่างโปรแกรมที่ 3 x = 10 y = 3.5 3.5 import acm.program.*;   public class Test extends ConsoleProgram { public void run(){ int x; double y = 3.5; x = 10; print(y + ” ”); println(x); } x = 10 y = 3.5 3.5

ตัวอย่างโปรแกรมที่ 3 x = 10 y = 3.5 3.5 10 import acm.program.*;   public class Test extends ConsoleProgram { public void run(){ int x; double y = 3.5; x = 10; print(y + ” ”); println(x); } x = 10 y = 3.5 3.5 10

ตัวอย่างโปรแกรมที่ 4 import acm.program.*;   public class Test extends ConsoleProgram { public void run() { String a = "Hello ,"; String b = "world."; println(“Hello ,” + “World.”); }

ตัวอย่างโปรแกรมที่ 4 a = “Hello ,” import acm.program.*;   public class Test extends ConsoleProgram { public void run() { String a = "Hello ,"; String b = "world."; println(a+b); } a = “Hello ,”

ตัวอย่างโปรแกรมที่ 4 a = “Hello ,” b = "world." import acm.program.*;   public class Test extends ConsoleProgram { public void run() { String a = "Hello ,"; String b = "world."; println(a+b); } a = “Hello ,” b = "world."

ตัวอย่างโปรแกรมที่ 4 a = “Hello ,” b = "world." Hello ,world. import acm.program.*;   public class Test extends ConsoleProgram { public void run() { String a = "Hello ,"; String b = "world."; println(a+b); } a = “Hello ,” b = "world." Hello ,world.

ขอบเขตของตัวแปร ตัวแปร จะมีอยู่แค่ในปีกกาที่มันถูกประกาศขึ้น ถ้าหลุดจากปีกกานั้นแล้ว ตัวแปรจะหายไปจาก memory ทำให้แบ่งได้เป็น 2 แบบ หลักๆ ดังนี้ Global variable -> การประกาศตัวแปรใน class แต่ นอก method ทำให้สามารถเรียกใช้ตัวแปรได้จากทุกส่วนของโปรแกรม Local variable -> การประกาศตัวแปรใน method ทำให้สามารถเรียกใช้ตัวแปรได้แค่ภายในขอบเขตของ method นั้นๆ

ตัวอย่างโปรแกรมที่ error import acm.program.*;   public class Test extends ConsoleProgram { public void run(){ { int x = 10; } println(x);

ตัวอย่างโปรแกรมที่ error import acm.program.*;   public class Test extends ConsoleProgram { public void run(){ { int x = 10; } println(x); x = 10;

ตัวอย่างโปรแกรมที่ error import acm.program.*;   public class Test extends ConsoleProgram { public void run(){ { int x = 10; } println(x); error !!! ไม่พบตัวแปร x

ตัวอย่างโปรแกรมที่ไม่ error import acm.program.*;   public class Test extends ConsoleProgram { public void run(){ { int x = 10; println(x); } String a =“end of program”; println(a);

ตัวอย่างโปรแกรมที่ไม่ error import acm.program.*;   public class Test extends ConsoleProgram { public void run(){ { int x = 10; println(x); } String a =“end of program”; println(a); x = 10;

ตัวอย่างโปรแกรมที่ไม่ error import acm.program.*;   public class Test extends ConsoleProgram { public void run(){ { int x = 10; println(x); } String a =“end of program”; println(a); x = 10; 10

ตัวอย่างโปรแกรมที่ไม่ error import acm.program.*;   public class Test extends ConsoleProgram { public void run(){ { int x = 10; println(x); } String a =“end of program”; println(a); a = “end of program” 10

ตัวอย่างโปรแกรมที่ไม่ error import acm.program.*;   public class Test extends ConsoleProgram { public void run(){ { int x = 10; println(x); } String a =“end of program”; println(a); a = “end of program” 10 end of program

Thank You Template from DPU. ^^