ความสุขที่กลับมาเหมือนเดิม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นโยบายการให้บริการวัคซีนป้องกันโรค ไข้หวัดใหญ่ ประจำปี 2557
Advertisements

การดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
หน่วยงานจักษุกรรม รพ.ค่ายวชิราวุธ.
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
การพัฒนาระบบการส่งต่อโรคเรื้อรังใกล้บ้านใกล้ใจ โรงพยาบาลท่ายาง อำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี กฤษณา เปรมศรี 10 มกราคม
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
กายภาพบำบัด ใน โรงพยาบาลสร้างเสริมสุขภาพตำบล
การพัฒนาระบบส่งต่อ การดูแลสุขภาพเขตเมือง
Lean & PCT อายุรศาสตร์ พงศ์ศักดิ์ ด่านเดชา.
การสอบสวนโรคมือเท้าปากระบาดให้ได้คุณภาพ
Medication reconciliation
มาตรการในการป้องกันควบคุม โรค ในพื้นที่ระบาดและพื้นที่รอยต่อ 1. ตั้งศูนย์ปฏิบัติการฯ ( War room ) เฝ้าระวัง ประเมิน สถานการณ์ ระดมทรัพยากรในการแก้ไขปัญหา.
แนวนโยบายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
ระบบเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
การคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในหญิงติดเชื้อ : ประสบการณ์โรงพยาบาลแม่ลาว Mae Lao hospital, Chiang Rai province, Thailand สุทธินีพรหมใจษา วราลักษ์ รัตนธรรม สุภาพรตันสุวรรณ.
โรงพยาบาลทับสะแก อ.ทับสะแก จ.ประจวบคีรีขันธ์ ขนาด 60 เตียง
1. ชื่อผลงาน: ส่งเสริมการเข้าถึงบริการอย่างเป็นมิตร
การพัฒนางานคุณภาพงานเอดส์
บริบาลเภสัชกรรม รวดเร็วปลอดภัย คลินิกเด็กหัวใจสีเหลือง.
โรงพยาบาลสวนสราญรมย์
1. 1. กลุ่มองค์กร ปกครองส่วน ท้องถิ่น 2. เจ้าหน้าที่ รพ. สต และ เจ้าที่ในรพ. 3. ครู
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
คลินิกผู้สูงอายุ อดีต ปัจจุบัน อนาคต
การพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
สรุปการประชุม เขต 10.
น.พ. ศิริวัฒน์ ทิยพ์ธราดล
กลุ่มที่ 13 ประกอบด้วยกลุ่มบุคคลที่มาจากหลายเขต เช่น เขต 1, 2, 3, 10, 15 มีทั้งหมด 3 ประเด็นด้วยกัน คือ 1. สรุปกระบวนการและข้อเสนอแนะการนิเทศ รพ.สต. รอบที่
นโยบาย ปฐมภูมิ ลดแออัด พัฒนาคุณภาพบริการ
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
สิบเอ็ดประตูเมืองงาม เรืองนามพระสูงใหญ่ ผ้าไหมสาเกต บุญผะเหวดประเพณี มหาเจดีย์ชัยมงคล งามน่ายลบึงพลาญชัย เขตกว้างไกลทุ่งกุลา.
เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคสาธารณสุขเขต 10 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
แนวทางการบริหารกองทุน ที่จ่ายตามเกณฑ์คุณภาพ ปีงบประมาณ 2552
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สสจ.อุดรธานี
สรุปผลการส่งเสริมพัฒนาการเด็กวัย ๐ - ๕ ปี ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
โดย นางนวลใย วรรณเวช พยาบาลวิชาชีพ 7 กลุ่มการพยาบาล โรงพยาบาลพัทลุง
นายแพทย์สมพงษ์ สกุลอิสริยาภรณ์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ
โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ ปี 2557
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์
“ ASTHMA Clinic in THABO Crow Prince Hospital”
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
EASY ASTHMA CLINIC โรงพยาบาลนครพนม
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
สกลนครโมเดล.
สรุปประเด็น เรื่อง แนวคิดการจัดการรายกรณีเพื่อการดูแลต่อเนื่อง
Easy COPD clinic … Easy to Practice and Achieve
แนวทางการบริหารงบค่าบริการ แพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2556 สมชาย ชินวา นิชย์เจริญ.
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 เสนอในการประชุมชี้แจงจังหวัด ระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม.
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
SAR2011 ข้อ III 4.3 ฉ : การฟื้นฟูสภาพ
ข้อเสนอแนะของผู้นิเทศ ข้อเสนอแนะในประเด็นสำคัญ เพิ่มเติม ดังนี้
รายงานการประเมินตนเอง 4.3 ช. การดูแลผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
สถานการณ์โรคติดต่อ อำเภอกำแพงแสน
เพลินพิศ เยาว์พรหมสิริ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
คลินิกสุขภาพเด็กดีคุณภาพ
ยุทธศาสตร์การพัฒนารพ. สต. แบบบูรณาการจังหวัดแพร่ ประจำปีพ. ศ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความสุขที่กลับมาเหมือนเดิม โรงพยาบาลบางปะอิน ความสุขที่กลับมาเหมือนเดิม

Asthma Clinic รพ.บางปะอิน มุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การรักษาที่ไม่ใช้ยา เน้นรายบุคคล ให้ความรู้เรื่องโรค แนะนำการปฏิบัติตน คำแนะนำรายกรณี การรักษาโดยการใช้ยา(ICS) มาตรฐาน-CPG ครอบคลุม รอบด้าน ต่อเนื่อง เหมาะสม ทำงานเป็นทีมแบ่งหน้าที่กันชัดเจน ใช้แบบฟอร์มในการกำกับงานและ การสื่อสาร มุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระหว่างรอตรวจ

ขั้นตอนที่ 1 ตรวจสมรรถภาพปอด ซักประวัติอาการผิดปกติ

ขั้นตอนที่ 1 ตรวจสมรรถภาพปอด ซักประวัติอาการผิดปกติ

ขั้นตอนที่ 2 ประเมินผลการรักษา ขั้นตอนที่ 2 ประเมินผลการรักษา

ขั้นตอนที่ 2 ประเมินผลการรักษา ขั้นตอนที่ 2 ประเมินผลการรักษา

ขั้นตอนที่ 3 เภสัชกรประเมินการใช้ยา - สอนการใช้ยาชนิดสูดพ่น -ประเมินการพ่นยา

ประเมินติดตามการใช้ยาโดยเภสัชกร ทุกครั้งที่มาพบแพทย์ ฟอร์ม

ขั้นตอนที่ 4 การรักษาโดยแพทย์

ฟอร์ม รูปOPD

การดูแลรักษาใน ER - กำหนด guideline ในการดูแลผู้ป่วย - นัดผู้ป่วยเข้าคลินิก ประเมิน Asthma Scores ครั้งที่1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 ครั้งที่ 4 Severity 1 2 RR >5 ปี <30 30-40 >40   < 5 ปี <40 40-60 >60 Retraction none >1 Wheezing Exp. Both Dyspnea mild mark % O2 Sat > 95% 92-94 < 91% Total Scores ให้การรักษาโดยแบ่งตาม Scores ที่ได้ ดังนี้ 1. Total Score ≥8 ให้การรักษา Salbutamol NB Stat 3. Total Score < 4 ให้การรักษา - Prednisolone ๏ 6 tab stat Dexamethasone 8 mg v Stat ตามแพทย์เวรพิจารณา Admit หรือ Refer 2. Total Score 4-7 ให้การรักษา - Salbutamol NB ประเมิน Severity Score หลังพ่น 20 นาที ถ้า < 4 ให้ D/C ได้ - Dexamethasone 8 mg v Stat - Salbutamol NB ประเมิน Severity Score หลังพ่น 20 นาที ถ้า < 4 ให้ D/C ได้ - Salbutamol NB หลังพ่น 20 นาที ให้ประเมิน Severity Score ซ้ำ ถ้า Severity Score < 4 ให้ D/C ได้ ถ้า Severity Score > 4 ให้พ่นยาซ้ำ ถ้า Severity Score > 4 หลังพ่นยาซ้ำ 3 ครั้งแล้ว ให้รายงานแพทย์เพื่อ พิจารณาAdmit 12

การดูแลรักษาใน Ward CPG การประเมินผู้ป่วยโดยทีม กรณีซับซ้อน / admit บ่อย จัดทีมลงเยี่ยมบ้าน นัดหมายผู้ป่วยเข้าคลินิก

ผลลัพธ์ ภาพรวม จาก สปสช. ปี 2556 รพ.บางปะอิน จัดสรรงบ ( บาท ) HNAME ภาพรวม จาก สปสช. ปี 2556 HNAME จัดสรรงบ ( บาท ) Asth_Admit < 8 % Asth_ICS รพ.บางปะอิน 215,233 216,200

ผลลัพธ์ด้าน Process การติดตามการใช้ยา ตัวชี้วัด 2555 2556 ร้อยละของผู้ป่วย ใช้ยาพ่นสูดได้ถูกต้อง 98 94.75

ผลลัพธ์การดูแลผู้ป่วย ตัวชี้วัด ปี 55 ปี56 ปี57 ( ไตรมาสแรก) ER Visited 10.8 % 6.7 % 6.4 % Admission rate 5.3 % 4.5 % 3.6 %

ผลลัพธ์การลดค่าใช้จ่าย ตัวอย่างเด็ก 5 ราย ค่ารักษาต่อปี ( บาท ) ผู้ป่วย ก่อนเข้าคลินิก หลังเข้าคลินิก รายที่ 1 12,142 2,044 รายที่ 2 11,479 4,520 รายที่ 3 8,960 7,286 รายที่ 4 6,233 2,160 รายที่ 5 17,560 6,805 ค่าเฉลี่ย 11,274.8 4,563

Asthma admission rate near Zero?

ปัญหาโรคหืดในเด็ก 1. การวินิจฉัย 2. การดูแลรักษา อาการหอบในเด็ก

การพัฒนาการดูแลเด็กโรคหืด การอบรม จาก รพ.เจ้าพระยายมราช

การดำเนินการหลังการอบรม 1.จัดทำ CPG โรคหืดในเด็ก แนวทางเวชปฏิบัติ โรคหอบหืดสำหรับเด็ก คปสอ.บางปะอิน มกราคม 2556

การวินิจฉัย ปัจจุบัน การวินิจฉัยใช้ Modified Asthma predictive Index โดยกำหนด Criteria ดังนี้ มีอาการหอบมากกว่า 3ครั้ง ร่วมกับ 1 major criteria หรือ 2 minor criteria Major criteria 1. พ่อ หรือ แม่ เป็นโรคหืด 2. มีประวัติผื่นภูมิแพ้ผิวหนัง Minor criteria 1. มีอาการหอบโดยไม่ได้เป็นหวัด 2.CBC eosinophil > 4 % 3. มีประวัติ Allergic Rhinitis

VIRAL INDUCED WHEEZING แนวทางการดูแล 1. นัดติดตามอาการซ้ำอีก 1 เดือน ถ้ามีอาการซ้ำอีกให้ Budesonide 200 mcg / วัน นาน 2 เดือน 2 . ถ้า ไม่ดีขึ้น ต้องคิดถึงการวินิจฉัยโรคอื่นๆ หรือถ้าดีขึ้น ให้หยุด Budesonide ถ้ามีอาการหอบอีกให้กลับมารับการรักษา โดยให้การวินิจฉัยเป็น Asthma  

แนวทางในการรักษา และปรับยา Step การใช้ยา 1. ß2- agonist as needed 2. ICS (low dose) 3. ICS (low dose) + LABA 4. ICS (medium dose) +LABA 6. ICS (high dose) +LABA   7. ICS (high dose) +LABA + Prednisolone ๏ Salbutamol Inhaler prn Budesonide 1 Puff / day Seretide (25/50) 1x 2 P / day Seretide (25/50) 2 x 2 Seretide (25/125) 1x 2 P / day Seretide (25/125) 2 x 2 Budesonide 1 x 2 + Seretide (25/125) 2 x 2 Budesonide 2 x 2 + Seretide (25/125) 2 x 2 Budesonide 3 x 2 + Seretide (25/125) 2 x 2 +Prednisolone dose ต่ำสุดที่ควบคุมได้

แนวทางการปรับลดยา ถ้าผู้ป่วยคุมอาการได้ติดต่อกัน 3 เดือน ให้ปรับลดยา Steroid ลงทีละ Step ยาอื่นที่ใช้ร่วมให้คงไว้ จนกระทั่งเหลือ Budesonide 1x1 จึงหยุดยาอื่น ถ้าอาการยังควบคุมได้ดีครบ 1 ปี ให้หยุดยาทั้งหมดได้  

2.จัดทำฟอร์มสำหรับการวินิจฉัยโรคและรักษา

แบบฟอร์มสำหรับการวินิจฉัยโรคและรักษา

ปัญหา

โครงการคัดกรองผู้ป่วยโรคหืดในชุมชน วัตถุประสงค์ - ค้นหาผู้ป่วยในชุมชนเน้นเด็กเล็ก - เครือข่ายเฝ้าระวัง - จนท.รพ.สต. - ครูเด็กเล็ก - ช่องทางติดต่อกับเรา

การดำเนินงาน การคัดกรองเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และเด็กอนุบาล การคัดกรองเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และเด็กอนุบาล จำนวน 32 แห่ง ใน อ.บางปะอิน ทั้ง รร.รัฐบาล และเอกชน

เครื่องมือ 1.สื่อให้ความรู้ เครื่องมือ 1.สื่อให้ความรู้

ประสานความร่วมมือ การลงพื้นที่ - เจ้าหน้าที่ รพ. สต ประสานความร่วมมือ การลงพื้นที่ - เจ้าหน้าที่ รพ.สต. - องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น - ครูและผู้ดูแลเด็ก

1.ให้ความรู้ ครู, ผู้บริหาร เ จ้าหน้าที่ รพ.สต. ผู้ปกครอง

2. แบบคัดกรองโรคหืดในเด็ก 1

ผลของโครงการ ลงพื้นที่ ครบทั้ง 32 แห่ง ในเดือน พย. 2556 ลงพื้นที่ ครบทั้ง 32 แห่ง ในเดือน พย. 2556 รายที่มีอาการชัดเจน ได้รับการส่งต่อผู้ป่วยจาก ผู้ปกครอง ครู และเจ้าหน้าที่ รพ.สต. เข้าระบบการรักษา รายที่ไม่ชัดเจนอยู่ระหว่าง รพ.คัดกรอง และติดต่อให้มารับการตรวจวินิจฉัย

การทำงานเชิงรุกในการค้นหาผู้ป่วย ให้ได้รับการรักษาตั้งแต่เริ่มแรก แผนพัฒนาต่อเนื่อง การทำงานเชิงรุกในการค้นหาผู้ป่วย ให้ได้รับการรักษาตั้งแต่เริ่มแรก กลุ่มเด็ก

Asthma admission rate near Zero การวินิจฉัยเร็ว

ผลลัพธ์การดูแลผู้ป่วยโรคหืด คือ...ความสุข ความสุขของผู้รับบริการ เรา ผลลัพธ์การดูแลผู้ป่วยโรคหืด คือ...ความสุข ความสุขของผู้รับบริการ เรา

ความสุขที่กลับมาเหมือนเดิม โรงพยาบาลบางปะอิน