บทบาทของผู้ตรวจสอบภายใน ต่อการควบคุมภายใน - การบริหารงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน (Performance Bared Budgeting)
การดำเนินงานของหน่วยงาน - ความโปร่งใส (Transparency) - ความรับผิดชอบ (Accountability)
เครื่องมือ - การควบคุมภายใน - การตรวจสอบภายใน
การควบคุมภายใน หมายถึง กระบวนการที่ ฝ่ายบริหารและบุคลากรทุกระดับของหน่วยงานรับตรวจ กำหนดให้มีขึ้น เพื่อให้ความมั่นใจอย่างสมเหตุสมผลว่า การดำเนินงาน จะบรรลุวัตถุประสงค์ 1. การดำเนินงาน (Operation) 2. การรายงานทางการเงิน (Financial) 3. การปฏิบัติตามกฎหมายและระเบียบข้อบังคับ (Compliance)
องค์ประกอบของการควบคุมภายใน 1. สภาพแวดล้อมการควบคุม (Control Environment) 2. การประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment) 3. กิจกรรมควบคุม (Control Activities) 4. สารสนเทศ (Information and Communications) 5. การติดตามประเมินผล (Monitoring)
การตรวจสอบภายใน หมายถึง การดำเนินกิจกรรมเพื่อให้ความเชื่อมั่นและให้คำปรึกษาอย่างเที่ยงธรรมและ เป็นอิสระ ซึ่งจัดให้มีขึ้นเพื่อเพิ่มคุณค่า และปรับปรุงการปฏิบัติงานของส่วนราชการให้ดีขึ้น เพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ของส่วนราชการ
โครงสร้างขององค์กร 1. ระดับ สพฐ. - มีกลุ่มตรวจสอบภายใน 1. ระดับ สพฐ. - มีกลุ่มตรวจสอบภายใน 2. ระดับ สพท. - มีหน่วยตรวจสอบภายใน 3. ระดับสถานศึกษา - งานด้านบริหารทั่วไป
บทบาทและความรับผิดชอบของผู้ตรวจสอบภายใน 1. มีอิสระ และเที่ยงธรรม ในกิจกรรมที่ประเมิน 2. ต้องมีความรู้ ความสามารถ 3. ประเมินผลการความคุมภายใน เพื่อลดความเสี่ยง 4. รายงาน และให้ข้อเสนอแนะ แก่ผู้บริหารผู้เกี่ยวข้อง 5. ให้คำแนะนำการควบคุมภายในแก่หน่วยตรวจรับ
กลุ่มตรวจสอบภายใน สพฐ. ขอขอบคุณ