การรับฟังพยานหลักฐาน
การรับฟังพยานหลักฐาน คือ การพิจารณาวินิจฉัยพยานหลักฐานเพื่อค้นหา ข้อเท็จจริง ให้ได้ความจริงและยุติธรรม เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการสอบสวน ค้นหา และรวบรวมพยานหลักฐาน แล้วมาพิจารณา ค้นหาข้อเท็จจริงที่เป็นความจริง เพื่อให้เกิด ความยุติธรรม
ข้อเท็จจริงที่เข้าสู่สำนวน 1. โดยพยานหลักฐาน 2. โดยข้อสันนิษฐาน 3. โดยผู้สอบสวนหรือผู้พิจารณารับรู้เอง 4. โดยผู้สอบสวนหรือผู้พิจารณาตรวจเห็นเอง 5. โดยผู้ถูกกล่าวหารับ
พยานหลักฐานมี 4 ชนิด คือ พยานหลักฐานมี 4 ชนิด คือ 1. พยานบุคคล คือ บุคคลที่จะให้ถ้อยคำเกี่ยวกับข้อเท็จจริง ที่ตนได้รับรู้ 2. พยานเอกสาร คือ สิ่งที่จารึกเป็นลายลักษณ์อักษรที่แสดงออก ซึ่งความหมาย
พยานหลักฐานมี 4 ชนิด (ต่อ) พยานหลักฐานมี 4 ชนิด (ต่อ) 3. พยานวัตถุ คือ สิ่งที่มีรูปร่างทั้งหลายที่สามารถมีผลต่อ ความเห็นของบุคคล โดยความคงอยู่ ที่ตั้ง หรือสภาพของสิ่งนั้น 4. พยานผู้เชี่ยวชาญ คือ บุคคลที่จะต้องให้การเกี่ยวกับความเห็น ให้ทางวิชาการ
พยานหลักฐานแบ่งตามน้ำหนักพยาน ได้หลายประเภท ดังนี้ พยานหลักฐานแบ่งตามน้ำหนักพยาน ได้หลายประเภท ดังนี้ 1. พยานชั้นหนึ่งและพยานชั้นสอง พยานชั้นหนึ่ง ได้แก่ พยานหลักฐานที่ดีที่สุด ที่พึงจะมีได้ในขณะนั้น เช่น พยานที่ลงนาม เป็นพยานในสัญญา
พยานชั้นสอง ได้แก่ พยานหลักฐานอื่นที่ยัง ไม่ดีที่สุด แม้จะบ่งชี้ข้อเท็จจริงได้ เช่น บุคคลที่ให้การว่าเคยเห็นและจำลายมือของ คู่สัญญาได้ ต้นฉบับเอกสาร - พยานชั้นหนึ่ง สำเนาเอกสาร - พยานชั้นสอง
2. พยานโดยตรงและพยานเหตุผลหรือ พยานแวดล้อมกรณี 2. พยานโดยตรงและพยานเหตุผลหรือ พยานแวดล้อมกรณี พยานโดยตรง - พยานหลักฐานใด ๆ ที่ ระบุว่าข้อเท็จจริงได้มีอยู่ โดยไม่ต้องหาเหตุผล สันนิษฐานอย่างใดต่อไปอีก
พยานเหตุผลหรือพยานแวดล้อมกรณี - พยานที่ไม่ระบุโดยตรงว่าข้อเท็จจริง เป็นเช่นนั้น แต่มีเหตุผลหรือพฤติการณ์ เชื่อมโยงพอจะเชื่อได้ว่าข้อเท็จจริงควรจะ เป็นเช่นนั้น
การรับฟังพยานเหตุผลหรือพยานแวดล้อมกรณี 1. รับฟังประกอบพยานโดยตรงให้มีน้ำหนักยิ่งขึ้น 2. รับฟังเมื่อบ่งชี้โดยแน่นอน ไม่มีทางจะคิดเป็น อย่างอื่น 3. รับฟังว่าพยานฝ่ายใดมีน้ำหนักกว่ากัน เมื่อสองฝ่ายโต้เถียงกัน โดยอ้างพยานเหตุผล หรือพยานแวดล้อมกรณีด้วยกัน 4. รับฟังเพื่อแย้งพยานโดยตรงที่ปราศจากเหตุผล
3. ประจักษ์พยานและพยานบอกเล่า 3. ประจักษ์พยานและพยานบอกเล่า ประจักษ์พยาน - พยานที่ได้รู้ได้เห็น ข้อเท็จจริงนั้นมาด้วยตนเอง พยานบอกเล่า - พยานที่มิได้รู้เห็น ข้อเท็จจริงนั้นมาด้วยตนเอง หากแต่ได้ยิน ได้ฟังผู้อื่นเล่าถึงข้อเท็จจริงนั้นมาอีกทอดหนึ่ง หรือหลายทอด
พยานที่มีน้ำหนักมากควรรับฟัง พยานที่เป็นกลาง พยานที่มีเหตุผลเชื่อมโยง พยานคู่ พยานร่วม พยานเอกสาร พยานวัตถุ พยานผู้เชี่ยวชาญ
พยานที่มีน้ำหนักน้อยไม่ควรรับฟัง 1. พยานที่ให้การไม่อยู่กับร่องกับรอย 2. พยานที่มีสาเหตุโกรธเคือง พยานที่มีความสัมพันธ์ใกล้ชิด พยานที่มีประโยชน์เกี่ยวข้อง 5. พยานเดี่ยว
พยานที่มีน้ำหนักน้อยไม่ควรรับฟัง (ต่อ) พยานที่มีน้ำหนักน้อยไม่ควรรับฟัง (ต่อ) 6. พยานที่ให้การแตกต่างกัน 7. พยานที่ไม่สมเหตุสมผล 8. พยานบอกเล่า 9. คำซัดทอดของผู้ถูกกล่าวหา
การรับฟังพยานบอกเล่า หลัก ไม่พอรับฟัง ข้อยกเว้น 1. รับฟังเป็นพยานเหตุผล หรือพยานแวดล้อมกรณี ประกอบพยาน 2. รับฟังเมื่อสมเหตุสมผลและมีพยานแวดล้อม กรณีอื่นสนับสนุนพอ
การชั่งน้ำหนักพยาน ต้องฟังพยานที่มีน้ำหนักมากก่อน ถ้าไม่มี ฟังพยานที่มีน้ำหนักน้อย ต้องฟังคำพยานที่สมเหตุสมผลในสภาพ ปกติวิสัยของคนทั่วไป
การชั่งน้ำหนักหรือการรับฟัง พยานหลักฐานของผู้พิจารณา ขึ้นอยู่กับ : สามัญสำนึก หลักตรรกวิทยาหรือความสมเหตุสมผล ประสบการณ์
การรับฟังข้อสันนิษฐาน หลัก รับฟังไม่ได้ ข้อยกเว้น มีกฎหมาย ระเบียบ หรือแบบธรรมเนียม ให้สันนิษฐานไว้ก่อนอย่างใด ก็ตกเป็นหน้าที่ของ ผู้ถูกกล่าวหาที่จะนำสืบหักล้าง ถ้านำสืบหักล้าง ไม่ได้ ก็ต้องฟังตามข้อสันนิษฐาน
ข้อเท็จจริงที่รับรู้เอง 1. ถ้อยคำภาษาไทยหรือภาษาอื่นที่เป็นที่เข้าใจกัน อยู่ทั่วไป 2. ธรรมเนียม ประเพณี ซึ่งเป็นที่รู้กันอยู่ทั่วไป 3. กิจการความเป็นไปของบ้านเมือง 4. สิ่งธรรมดา ธรรมชาติ
ข้อควรระวัง พยานหลักฐานนอกสำนวน พยานรับสมอ้าง / เท็จ พยานเลื่อนลอย
การรับฟังพยานหลักฐาน