ระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน จังหวัดสุโขทัย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ชุมชนน้ำด้วน 1 ร่วมใจ สร้างความปลอดภัยทางถนน
Advertisements

ระเบียบวาระการประชุม คณะกรรมการวางแผนและ ประเมินผล สาธารณสุข จังหวัดลำปาง ครั้งที่ 5 / มิถุนายน 2553.
แผนป้องกันและระงับอัคคีภัย
ยุทธศาสตร์พัฒนาลุ่มน้ำยม
การดำเนินงานด้านอนามัยการเจริญพันธุ์
บูรณาการสู่ความสำเร็จ
การประเมินโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
วันพฤหัสบดีที่ 29 มีนาคม 2555 เวลา น
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
โดย โครงการช่วยกันสานเพื่อส่งเสริมคุณค่าผู้สูงอายุ
การอบรม อสม. รุ่น 2 เป้าหมาย อสม.รุ่น 1 - อสมช. ด้านโรคความดันโลหิตสูง
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
แผนการดำเนินงาน สคร.5 ลำดับที่ กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ หมายเหตุ 1
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุโขทัย
ผลการดำเนินงาน ระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน ปี 2552
แต่งตั้งคณะกรรมการบริหาร และพัฒนาโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพตำบล
หน่วยบริการในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข เพื่อให้บริการสาธารณสุข
การศึกษาดูงาน รพ.เกาะพีพี
แนวทางการบริหารจัดการระบบประกันสุขภาพ ในภาพรวม ปีงบประมาณ 2551
ที่ว่าการอำเภอปะนาเระ
กลวิธี 3. มาตรการทางกฎหมายเพื่อส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
การดำเนินงาน โรงพยาบาลสายใยรัก แห่งครอบครัว จังหวัดอุตรดิตถ์
โรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว
บทบาท อสม.และภาคีเครือข่ายสุขภาพภาคประชาชนในการจัดการแก้ปัญหาน้ำท่วม
การดำเนินงานตำบลจัดการสุขภาพ ตำบลเขาซก อำเภอหนองใหญ่ ชลบุรี
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
แบบนำเสนอผลงานโครงการ
บทบาทและแนวทางในการพัฒนา ทีม SRRT ต่อการควบคุมภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข
คุณลักษณะที่ ๒ มีระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ
แนวทางการดำเนินการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกปี2550
ดำเนินงานโดย คปสอ. บ้านโป่ง
ประชุมเพื่อประสานแผน การทำงาน การกำหนดเป้าหมาย และการติดตามกำกับงาน
งานควบคุมโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ
ผลการดำเนินงาน EMS ปี 2551 ( ตุลาคม 50 – มิถุนายน 51) งานควบคุมโรคไม่ติดต่อและ การบาดเจ็บ.
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
กลุ่มข้อมูลข่าวสารสุขภาพ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข
การพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
น.พ. ศิริวัฒน์ ทิยพ์ธราดล
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
นพ.สมชาย เชื้อเพชรโสภณ ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขต 13
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
คำรับรองการปฏิบัติ ราชการ กรมอนามัย ปี 2549 จำนวน 20 ตัวชี้วัด.
แหล่งที่มา : ณ 30 มค 50.
การนิเทศติดตาม.
1. เสือปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
หลักการและเหตุผล หน่วยงานภาครัฐ/ เอกชน ต่างคนต่างทำงานไม่ได้เชื่อมประสานการทำงานเป็นเครือข่าย โรคและภัยสุขภาพเกิดขึ้นในทุกพื้นเพียงแต่แตกต่างกันในรายละเอียด.
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
นายแพทย์สมพงษ์ สกุลอิสริยาภรณ์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ
การพัฒนาอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน
มุมมองการพัฒนาและขับเคลื่อน งานกองทุนฯอย่างยั่งยืน
ผลการดำเนินงานโครงการ
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
ผลการสำรวจความต้องการ ความ คาดหวัง และความพึงพอใจ ของภาคีเครือข่ายด้านการส่งเสริม สุขภาพและพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่รับผิดชอบ ต่อศูนย์อนามัยที่
ผบ. ปภ. ชาติ ( รมว. มท.) หรือ ผอ. กลาง ( อ. ปภ.) ผอ. จังหวัด ( ผว. จว.) แผน ปภ. จว./ แผนปฏิบัติการป้องกัน และแก้ไขปัญหา ภัยแล้ง ก่อนเกิดเหตุ ขณะเกิดเหตุ
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
นายกรัฐมนตรี กรณีเกิดสาธารณภัยร้ายแรงอย่างยิ่ง (ความรุนแรงระดับ 4)
โครงสร้างระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน
โครงการลดปัญหาสุขภาพจากระบบสืบพันธุ์
โครงการ บูรณาการความร่วมมือภาคีเครือข่าย สร้างเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้ เพื่อผู้สูงอายุสุขภาพดี “80 ปี ยังแจ๋ว”
คปสอ.เลิงนกทา เป็นองค์กรบริหารด้านสุขภาพที่มีประสิทธิภาพและโปร่งใส
ยุทธศาสตร์พัฒนาชุมชนน่าอยู่ เมืองน่าอยู่ ผลงาน ปี 2551 แผนงาน ปี 2552 ศูนย์อนามัยที่ 9 พิษณุโลก 2 กันยายน 2551.
รายงานผลการดำเนินงานตามคำมั่นการปฏิบัติ ราชการ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ระหว่าง เดือนตุลาคม 2555 ถึง เดือนมกราคม 2556 งานพัฒนาบุคลากร กลุ่มพัฒนาวิศวกรรม.
โครงการอบรมพัฒนาสมรรถนะบุคลากร กรมอนามัย เพื่อการขับเคลื่อนกลยุทธ์ “ การสร้างการมีส่วนร่วมและขีด ความสามารถของภาคีเครือข่าย ” เพื่อเพิ่มขีดความสามารถใน.
การเตรียมความพร้อมของหน่วยกู้ชีพใน เทศกาลปีใหม่ ปี ๒๕๕๔ ระหว่างวันที่ ๒๙ ธันวาคม ๒๕๕๓ ถึง วันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๕๔ หน่วยกู้ชีพ FR และ BLS – ตรวจเช็คสภาพรถยนต์ให้พร้อมออกปฏิบัติงาน.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน จังหวัดสุโขทัย Emergency Medical Services ( EMS)

จังหวัดสุโขทัยดำเนินการในระบบบริการ การแพทย์ฉุกเฉินตั้งแต่ พฤศจิกายน 2547 สำนักงานระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน อยู่ที่สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุโขทัย เป็นภารกิจหนึ่งในกลุ่มงานประกันสุขภาพ ศูนย์รับแจ้งเหตุและสั่งการจังหวัดสุโขทัย อยู่ที่โรงพยาบาลสุโขทัย

หน่วยปฏิบัติการระดับสูง (ALS) 10 หน่วย 3. เครือข่ายในการดำเนินงาน หน่วยปฏิบัติการทั้งสิ้น 88 หน่วย หน่วยปฏิบัติการระดับสูง (ALS) 10 หน่วย

หน่วยปฏิบัติการระดับพื้นฐาน ( BLS) 22 หน่วย

หน่วยปฏิบัติการฉุกเฉินเบื้องต้น 56 หน่วย

ผังการดำเนินงานระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน ณ จุดเกิดเหตุจังหวัดสุโขทัย ผังการดำเนินงานระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน ณ จุดเกิดเหตุจังหวัดสุโขทัย โทรแจ้งเหตุ สายด่วน 1669,สายตรงEMS ศูนย์รับแจ้งเหตุและสั่งการ โรงพยาบาลสุโขทัย(0-5561-0280) จุดเกิดเหตุ ศูนย์กู้ชีพ รพท.,รพช. / กู้ภัย/อาสาสมัครกู้ชีพ นำส่งโรงพยาบาล ที่เหมาะสม / รักษาได้ 1 2 5 4 3 สำนักระบบบริการ การแพทย์ฉุกเฉินจังหวัดสุโขทัย ระบบข้อมูล

การแบ่งพื้นที่การให้บริการ แบ่งพื้นที่ออกเป็น 9 โซน ตามอำเภอ การแบ่งพื้นที่การให้บริการ แบ่งพื้นที่ออกเป็น 9 โซน ตามอำเภอ ระดับอำเภอ โรงพยาบาลเป็นแม่ข่ายและมีหน่วยปฏิบัติการพื้นฐาน/ฉุกเฉินเบื้องต้นเป็นลูกข่าย เขตเมือง โรงพยาบาลสุโขทัยเป็นแม่ข่าย มีหน่วยปฏิบัติการพื้นฐาน 6 หน่วยรับผิดชอบตามโซนมีการจัดประชุมเพื่อแบ่งโซน เมื่อวันที่ 12 เมษายน 2550

ผลการดำเนินงาน ระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน จังหวัดสุโขทัยที่ผ่านมา

1. ประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงานให้กับหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและเอกชน

2. อบรมให้ความรู้เจ้าหน้าที่ในสถานีอนามัยทุกแห่ง 3. อบรมให้ฟื้นฟูความรู้หน่วยกู้ภัย

4. อบรมให้ความรู้เจ้าหน้าที่เทศบาล/อบต.

5. ประชุมติดตามผลการดำเนินงานของ อบต./เทศบาล 6. ประชุมอบรมการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นสูง 7-9 มีค.50

7. ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระบบบริหารจัดการ, การประสาน, ควบคุมกำกับและเสนอแนวทางการดำเนินงาน( 6 กรกฎาคม 2550) ร่วมกับ สปสช.เขตพื้นที่ พิษณุโลก สำนักระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินจังหวัดสุโขทัย ศูนย์รับแจ้งเหตุและสั่งการ หน่วยปฏิบัติการทุกระดับ

9. พัฒนาระบบการส่งต่อ(Referral System) 8. ตรวจเยี่ยมการดำเนินงานหน่วยปฏิบัติการฉุกเฉิน เบื้องต้น อบต.วังทอง อ.ศรีสำโรง จ.สุโขทัย 9. พัฒนาระบบการส่งต่อ(Referral System) โดยการจัดประชุมเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องเพื่อพัฒนาระบบและแก้ไขปัญหาการส่งต่อจังหวัดสุโขทัย 2 ครั้ง วันที่ 26 มิถุนายน 2550 วันที่ 20 กรกฎาคม 2550

สนับสนุนป้ายประชาสัมพันธ์ระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน บาดเจ็บ ป่วยฉุกเฉิน เรียก 1669 จังหวัดสุโขทัย ระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน

สนับสนุนเสื้อ,กรวย สะท้อนแสง

สนับสนุนงบประมาณเพื่อพัฒนาศูนย์รับแจ้งเหตุและสั่งการ

ประชุมชี้แจงนโยบาย เพื่อขยายเครือข่ายลงสู่ อบต. อำเภอศรีสัชนาลัย ประชุมชี้แจงนโยบาย เพื่อขยายเครือข่ายลงสู่ อบต.

ประชุมชี้แจงนโยบาย เพื่อขยายเครือข่ายลงสู่ อบต. อำเภอสวรรคโลก ประชุมชี้แจงนโยบาย เพื่อขยายเครือข่ายลงสู่ อบต.

หน่วยกู้ชีพศรีสังวร โรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัย สายตรง 0-5568-1331 อำเภอศรีสำโรง ประชาสัมพันธ์ 1669 อุบัติเหตุฉุกเฉิน 1669 กู้ชีพศรีสังวร หน่วยกู้ชีพศรีสังวร โรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัย สายตรง 0-5568-1331

หน่วยบริการการแพทย์ฉุกเฉินให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยน้ำท่วมและโคลนถล่ม โรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัยและโรงพยาบาลศรีสัชนาลัยออกให้บริการในวันที่ 22 พฤษภาคม 2549 ที่ ตำบลบ้านตึกและบ้านดงย่าปา จำนวน 5 ครั้ง ดังนี้ - ให้บริการ ณ จุดเกิดเหตุ 50 คน - รักษาและนำส่ง 17 คน - ส่งต่อรักษาโรงพยาบาลอื่น 1 คน

โรงพยาบาลสุโขทัยจัดทีมให้บริการช่วยเหลือผู้ประสบภัยน้ำท่วมและโคลนถล่มที่บ้านน้ำต๊ะ จังหวัดอุตรดิตถ์ วันที่ 23-24 พฤษภาคม 2549

ประชุมชี้แจงคณะกรรมการศูนย์อำนวยการป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนน โดย ผู้ว่าราชการจังหวัดสุโขทัย วันที่ 13 ธ.ค. 49