การจัดทำคู่มือการปฏิบัติงาน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเตรียมความพร้อมในการเสนอโครงการภายใต้แผนปฏิบัติการฯในระดับจังหวัด
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
ที่มาของระบบควบคุมภายใน
BA 925 การบริหารกลยุทธ์ ภาคฤดูร้อน ปีการศึกษา 2551
แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ
1. ลักษณะองค์กร 1ก. ลักษณะพื้นฐาน ของส่วนราชการ 1ก(1) พันธกิจ
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
ปัจจัยแห่งความสำเร็จในการก้าวสู่ การเป็นหน่วยงานจัดการความรู้ดีเด่น
สำนักบริหาร การมีส่วนร่วมของประชาชน
กรอบแนวคิด การพัฒนากองบริการการศึกษา.
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล
การจัดทำคู่มือการปฏิบัติงาน (Work Manual)
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
การบริหารโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ Results Based Management (RBM)
การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม ค่านิยมในการทำงานราชการยุคใหม่
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
ผลการดำเนินงานองค์กร (Performance Measurement)
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
พิธีลงนามคำรับรองการปฏิบัติราชการหน่วยงานภายใน
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
สรุปผลการจัดทำ(ร่าง)แผนยุทธศาสตร์(พ.ศ )
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
สมบูรณ์ บุญกิจอนุสรณ์ กองงานด่านอาหารและยา
สรุปประเด็นการประชุมสัมมนากลุ่มย่อย
การตรวจรับรองเกณฑ์คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Certify FL) 1.
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด2 9คำถาม.
ระบบเอกสารคุณภาพ เนาวรัตน์ เสียงเสนาะ สอิด
เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ กับนโยบายรัฐบาล และ วท.
โดย วัชรินทร์ จำปี รองเลขาธิการ กศน.
การสร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ปฏิบัติการย่อย (Mini-SLM)
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
การสร้างความเข้มแข็งของ ระบบสนับสนุนยุทธศาสตร์. ความจริงที่เป็นอยู่ ( มายาวนาน )
กรณีความเสี่ยง DMSc.
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) เขียนลักษณะสำคัญขององค์กร :
ระเบียบวาระการเตรียมทีมนิเทศงาน ปี 2557
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
คบส Powerpoint by Mr.Prachasan Saenpakdee M.P.H.
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
การบริหารและกระบวนการวางแผน
การติดตามการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ ครั้งที่ 2
การบริหารงานบุคลากร ภาครัฐแนวใหม่
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การจัดทำแผนยุทธศาสตร์อำเภอชุมพลบุรี
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
หมวด 6 การจัดการกระบวนการ Process Management
กระบวนการที่สร้างคุณค่า และ กระบวนการสนับสนุน
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมอนามัย
ชี้แจงหลักเกณฑ์การโอนเงิน ระเบียบการเบิก-จ่ายงบประมาณ
1. การ ดำเนินตามระเบียบงานสาร บรรณที่เกี่ยวข้อง 2. ความสามารถ ดำเนินการด้านสาร บรรณตามเวลาที่กำหนด 3. มีระบบ ป้องกันการสูญหายของ เอกสาร 4. การเผยแพร่ขั้นตอนในการ.
ด้านบริหารงานงบประมาณ ฉบับปรับปรุง มิถุนายน 2554
Valuing Employees & Partners ให้ความสำคัญพนักงาน คู่ค้า
การทบทวนแผนยุทธศาสตร์สำนักอนามัย 4 ปี เพื่อเชื่อมโยงสู่การปฏิบัติ ในหน่วยงานระดับสำนักงาน/กอง สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
ระบบข้อมูลสารสนเทศ 4.2 กระบวนงานพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
กลุ่ม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การจัดทำคู่มือการปฏิบัติงาน สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร

หัวข้อการสัมมนา การจัดทำคู่มือการปฏิบัติงาน ตามหลักการ จัดการกระบวนการ กรอบรายการกระบวนการของการจัดทำ คู่มือการปฏิบัติงานของสำนักอนามัย การฝึกปฏิบัติการจัดทำคู่มือการปฏิบัติงาน

ความหมายของกระบวนการ กระบวนการ คือ กลุ่มของกิจกรรมที่เกี่ยวข้องซึ่งกันและกัน ใน การเปลี่ยน INPUT เป็น OUTPUT ที่สร้างคุณค่าให้กับ องค์กร อย่างเป็นระบบ กระบวนการจะไม่สามารถหยุดจนกว่าจะได้ OUTPUT ตามที่ ต้องการ กระบวนการสามารถสะดุดได้เนื่องจากขาดวัตถุดิบ, เวลา หรือจากอุปสรรคใดๆ ก็ตาม ดังนั้นเราต้องมีวิธีการ จัดการให้ OUTPUT สัมฤทธิผลตามที่มุ่งหวัง  INPUT ประกอบด้วยวัตถุดิบ , ข้อมูล , พลังงาน คนและ วิธีการ เป็นต้น หลังจากผ่านกระบวนการ จะเปลี่ยนเป็น OUTPUT ในรูปแบบที่แตกต่างออกไป ยกตัวอย่างเช่น การทาสีบ้าน เราจำเป็นต้องจัดเตรียม สี , แปรง , ทินเนอร์ , วิธีการผสมสี , วิธีการทาสี , ผู้ที่รับผิดชอบ ในการทาสี , อุปกรณ์ช่วยต่างๆ รวมทั้งพื้นที่ที่ต้องการทาสี กำหนด รูปแบบการเล่นลายสี , ชนิดของสี จำนวนชั้นของสี และสุดท้าย วันที่ต้องการทาสีให้เสร็จ โดยปกติแล้วกระบวนการจะไม่แบ่งแยกเป็นฝ่าย หรือแผนกงานอย่างโดดเดี่ยว ตัวอย่างเช่น ในการทาสีบ้าน ภรรยาเป็นคนเลือก เฉดสี และจุดที่ต้องการ รวมทั้งเป้าหมายที่ต้องทำให้เสร็จ สามีเป็นคนจัดเตรียม และลงมือทา เป้าหมายของกระบวนการทาสีบ้านยังคงอยู่ คุณสมบัติของสี , เฉดสี , จุดที่ต้องการ , เวลาที่ต้องการแล้วเสร็จ ยังคงอยู่เหมือนเดิม ไม่ว่าจะผ่านกี่ฝ่ายกี่แผนกก็ตาม

กระบวนการกับการตอบสนองทางธุรกิจ การตอบสนองทางธุรกิจ เป็นการบริหารกิจกรรมต่างๆ เพื่อเปลี่ยนปัจจัยนำเข้าทางธุรกิจให้เป็นผลผลิตและผลลัพธ์ สินค้า และ บริการ ลูกค้า ลูกค้า INPUT กระบวนการ (กลุ่มกิจกรรมผลิต/บริการ) OUTPUT ความต้องการ ความ พึงพอใจ ผลลัพธ์ กระบวนการทางธุรกิจ

การจัดการกระบวนการ P:Plan = วางแผน D:Do = ลงมือทำตามแผน ตอบสนองความต้องการ สร้างมาตรฐาน P:Plan = วางแผน D:Do = ลงมือทำตามแผน C:Check = สรุปบทเรียน A:Action = ปรับทิศทาง

โครงสร้างของระบบเอกสารในองค์กร โดยทั่วไปแบ่งเป็น 4 ระดับ 1 คู่มือคุณภาพ (Quality Manual) ระเบียบปฏิบัติงาน (Procedure Manual), คู่มือการปฏิบัติงาน (Work Manual) 2 วิธีปฏิบัติงาน/วิธีการทำงาน ( Work Instruction) 3 แบบฟอร์ม, บันทึกและเอกสารสนับสนุน (Form, Record and Support document) 4

ขั้นตอนการจัดทำคู่มือการปฏิบัติงาน พันธกิจ ยุทธศาสตร์ ความต้องการผู้รับบริการ กฎหมาย กฎ ระเบียบ วิเคราะห์และกำหนดกระบวนการ วิเคราะห์และกำหนดข้อกำหนดที่สำคัญ องค์ความรู้ / IT ขั้นตอนการปฏิบัติงาน ออกแบบกระบวนการ กำหนดตัวชี้วัดกระบวนการ ระยะเวลา/ค่าใช้จ่าย/ผลิตภาพ เป้าหมายภารกิจ จัดการกระบวนการสู่การปฏิบัติ ลดค่าใช้จ่ายในการตรวจสอบ ป้องกันความผิดพลาด ปรับปรุงกระบวนการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้

การวิเคราะห์และกำหนดกระบวนการ ปัจจัยภายนอก / สภาพแวดล้อมภายนอก ส่วนงานก่อนหน้า/วัตถุดิบ (Supplier) ปัจจัยนำเข้า (Input) ผลผลิต (Output) ผู้รับบริการ/ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย กระบวนการหลัก กระบวนการสนับสนุน (4M+1E+1I)

การวิเคราะห์และกำหนดข้อกำหนดที่สำคัญ ความต้องการและความคาดหวังของของผู้รับบริการ วิเคราะห์ ความต้องการและความคาดหวังของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ข้อกำหนดที่สำคัญ ข้อกำหนดด้านกฎหมาย = คุณค่าที่ส่งมอบ ประสิทธิภาพของกระบวนการ ความคุ้มค่า

Dtac - ความต้องการและความคาดหวังของของผู้รับบริการ ทำงานด้วย “ตีน” Genchi Genbusu

AirAsia - ประสิทธิภาพของกระบวนการ ซื้อเครื่องถูกกว่า ? ซ่อมบำรุงถูกกว่า ? เติมน้ำมันถูกกว่า ? กัปตันค่าแรงถูกกว่า ? หรือ เพราะทำกิจกรรมต่างออกไป ทำให้โครงสร้างกิจกรรมเปลี่ยน และส่งผลต่อต้นทุน

แนวคิดในการปรับปรุงประสิทธิภาพในปัจจุบัน มุ่งเน้น การขจัดกิจกรรมที่ไม่สร้างคุณค่าเพิ่ม (สูญเปล่า – Waste) * หมายเหตุ: สำหรับกิจกรรมบางประเภทที่ไม่สร้างคุณค่าแต่ไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ ให้หาวิธีการใหม่ให้ได้จุดมุ่งหมายเดิม การกระชับเวลาในกิจกรรมที่สร้างคุณค่า โดยใช้เทคนิค เช่น การลดเวลาหน้างาน (SMED) การป้องกันความผิดพลาดในการทำงาน Poka-yoke Visual Management ลืม ไม่รู้ ไม่มีประสบการณ์ เข้าใจผิด

ความสูญเปล่า 7 ประการ

Poka-yoke SIM Card โทรศัพท์มือถือ ฝาถังน้ำมันรถ อ่างล้างหน้า ซองหน้าต่างในใบแจ้งค่าบริการ การกลับหมายเลขเรื่อง ATM

Visual Management

ทรัพยากรที่ส่วนราชการใช้ไป ผลประโยชน์ที่ประชาชนได้รับ การเพิ่มประสิทธิภาพของกระบวนการ ทรัพยากรที่ส่วนราชการใช้ไป ผลประโยชน์ที่ประชาชนได้รับ > ผลประโยชน์ของประชาชน ทรัพยากรที่ส่วนราชการใช้ หลังปรับปรุง ก่อนปรับปรุง

การจัดการกระบวนการ วิเคราะห์ กระบวนการ - พันธกิจ - ยุทธศาสตร์ - ความต้องการ ของผู้มีส่วน ได้ส่วนเสีย - กฎหมาย วิเคราะห์ กระบวนการ ข้อกำหนดที่สำคัญ มาตรฐาน กระบวนการ การเปลี่ยนแปลงทาง เทคโนโลยี ขั้นตอนการปฏิบัติงาน ระยะเวลาการปฏิบัติงาน ต้นทุน ทรัพยากรอื่นๆ A วิเคราะห์ภาวะฉุกเฉิน วิเคราะห์ปัจจัย สู่ความสำเร็จ Flow จัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน A จัดทำแผนฉุกเฉิน จัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อการปรับปรุง จัดทำงบประมาณ ประจำปี ฝึกอบรม แผนบริหาร ความเสี่ยง นำไปปฏิบัติ A ติดตามประเมินผล - ปรับปรุงมาตรฐาน - กำหนดวิธีแก้ไข/ป้องกัน จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้

ลักษณะของคู่มือการปฏิบัติงานที่ดี เนื้อหากระชับ ชัดเจน เข้าใจง่าย เป็นประโยชน์สำหรับการทำงานและการฝึกอบรม เหมาะสมกับองค์การและผู้ใช้งานแต่ละกลุ่ม มีความน่าสนใจ น่าติดตาม มีความเป็นปัจจุบัน (Update) ไม่ล้าสมัย แสดงหน่วยงานที่จัดทำ วันที่บังคับใช้ มีตัวอย่างประกอบ

หัวข้อในการจัดทำคู่มือการปฏิบัติงาน คำนำ สารบัญ บทสรุปสำหรับผู้บริหาร ความเป็นมาและความสำคัญในการจัดทำคู่มือ วัตถุประสงค์ ขอบเขต กรอบแนวคิด ข้อกำหนดที่สำคัญ คำจำกัดความ คำอธิบายสัญลักษณ์ที่ใช้ / คำอธิบายคำย่อ หน้าที่ความรับผิดชอบ แผนผังกระบวนงาน ขั้นตอนการปฏิบัติงาน มาตรฐานคุณภาพงาน และการติดตาม เอกสารประกอบ เช่นกฎหมาย ระเบียบ ข้อบัญญัติ

ตัวอย่าง: แผนผังกระบวนการพัฒนาข้าราชการกรุงเทพมหานคร ส่วนแผนงานและส่งเสริมความรู้ ส่วนวิชาการ ส่วนพัฒนาการบริหาร ส่วนจัดการฝึกอบรม ศูนย์ฝึกอบรม ฝ่ายบริหารงานทั่วไป ยุทธศาสตร์ ภารกิจ Competency ผลประเมินการปฏิบัติงาน Career Path จัดทำแผนการพัฒนาบุคลากร สนับสนุนการปฏิบัติงานด้านธุรการ การเงิน และบัญชี หลักสูตรและวิธีประเมินผล พัฒนาหลักสูตร แผนการพัฒนาบุคลากร จัดทำสื่อ วางแผนและจัดการฝึกอบรม วางแผนและจัดการฝึกอบรม บริหารการฝึกอบรม ติดตามประเมินผล

แบบฟอร์มขั้นตอนการปฏิบัติงาน Flow รายละเอียด ผู้รับ ผิดชอบ ระยะเวลา มาตรฐานงาน ระบบติดตามประเมินผล แบบฟอร์มที่ใช้ เอกสาร อ้างอิง

การเขียน Flowchart จุดเริ่มต้น และ สิ้นสุดของกระบวนการ No Yes กิจกรรมและการปฏิบัติงาน การรับเข้า-ส่งออกข้อมูล การตัดสินใจ ทิศทาง/การเคลื่อนไหวของงาน No Yes

การเขียน Flowchart รับ (คำร้อง) บันทึก (ลงโปรแกรม) อนุมัติ (คำขอ) 1. เริ่มด้วยคำกิริยา (ทำอะไร) รับ (คำร้อง) บันทึก (ลงโปรแกรม) อนุมัติ (คำขอ)

การเขียน Flowchart รับ (เจ้าหน้าที่) (คำร้อง) บันทึก (เจ้าหน้าที่) 2. เติมรายละเอียด : ใคร / ทำที่ไหน / ทำเมื่อไหร่ / ทำอย่างไร รับ (เจ้าหน้าที่) (คำร้อง) บันทึก (เจ้าหน้าที่) (ลงโปรแกรม) อนุมัติ (หัวหน้าฝ่าย) (คำขอ)

Discussion กรอบรายการกระบวนการของ การจัดทำคู่มือการปฏิบัติงานของสำนักอนามัย

(ร่าง) แผนภาพแสดงกระบวนงานโดยรวมของสำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร ประสิทธิผล ประสิทธิภาพ ประหยัด ประโยชน์ การบริหารจัดการภายใน ติดตาม วิเคราะห์ คาดการณ์ การเปลี่ยนแปลงของสถานการณ์สุขภาพ ผู้รับบริการในศูนย์บริการสาธารณสุข เข้าถึงและได้รับบริการที่มีคุณภาพ มาตรฐาน มีจรรยาบรรณ เป็นธรรม ทบทวนวิสัยทัศน์ ค่านิยม ทบทวนยุทธศาสตร์ จัดทำแผนปฏิบัติราชการ ประชาชน ประชาชนมีสุขภาพดี ใส่ใจสุขภาพ เมืองมีสุขาภิบาลและสิ่งแวดล้อมดี วางแผน จัดสรรงบประมาณ ส่งเสริมสุขภาพ ประชาชนทั่วไป หน่วย งานรัฐ ป้องกันและควบคุมโรค บริหารความเสี่ยง ศึกษา วิจัย สร้าง องค์ความรู้ พัฒนาระบบและมาตรฐานการบริการ รักษาพยาบาลปฐมภูมิ สถาบันการ ศึกษา ชุมชน/ท้องถิ่น งานสารสนเทศและ องค์ความรู้สนับสนุนการตัดสินใจและการพัฒนา เผยแพร่ ให้ความรู้ ประชาสัมพันธ์ ฟื้นฟูสุขภาพ งานบุคลากร ให้บริการ สุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม สารบรรณ ควบคุม กำกับ ติดตามผล อาหารปลอดภัยและอาหารเพื่อสุขภาพ กำกับองค์กร พัฒนาองค์กร/ระบบงาน จัดการข้อร้องเรียน/ คุ้มครองสิทธิ ป้องกันและควบคุมภาวะคุกคามทางสุขภาพ คลังและพัสดุ ส่งเสริมความร่วมมือ /พัฒนาเครือข่าย คุ้มครองผู้บริโภค มีการแลกเปลี่ยนทางความรู้ วิชาการ การสนับสนุนทรัพยากร เพื่อพัฒนาสร้างสรรค์นวัตกรรมบริการ ภาคีเครือข่าย ติดตามและประเมินผล

อาหารปลอดภัยและอาหารเพื่อสุขภาพ ป้องกันและควบคุมโรค รักษาพยาบาลปฐมภูมิ ส่งเสริมสุขภาพ อาหารปลอดภัยและอาหารเพื่อสุขภาพ ป้องกันและควบคุมโรค รักษาพยาบาลปฐมภูมิ ฟื้นฟูสุขภาพ สุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม ป้องกันและควบคุมภาวะคุกคามทางสุขภาพ คุ้มครองผู้บริโภค พัฒนาระบบและมาตรฐานการบริการ เผยแพร่ ให้ความรู้ ประชาสัมพันธ์ ให้บริการ ควบคุม กำกับ ติดตามผล จัดการข้อร้องเรียน/ คุ้มครองสิทธิ ส่งเสริมความร่วมมือ /พัฒนาเครือข่าย

WORKSHOP การฝึกปฏิบัติการจัดทำคู่มือการปฏิบัติงาน

หน่วยงาน ................................. พันธกิจ / ภารกิจ กระบวนการ ขอบเขต หน่วยงานรับผิดชอบ

ประสิทธิภาพของกระบวนการ กระบวนการ ................................................................. ผู้เกี่ยวข้อง ความต้องการ ผู้รับบริการ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ข้อกำหนดที่สำคัญ ข้อกำหนดด้านกฎหมาย ประสิทธิภาพของกระบวนการ ความคุ้มค่า ตัวชี้วัด ภายใน ผลกระบวนการ

กระบวนการ ................................................................. ข้อกำหนดที่สำคัญ (Requirement) ปัจจัย/สิ่งที่ต้องควบคุมเพื่อให้เป็นไปตามข้อกำหนดที่สำคัญ ประเภทปัจจัย/สิ่งที่ต้องควบคุม องค์ความรู้และเทคโนโลยี ขั้นตอน/ระยะเวลาปฏิบัติงาน การควบคุมค่าใช้จ่าย ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล FLOW

กระบวนการ ................................................................. Flow รายละเอียด ผู้รับ ผิดชอบ ระยะเวลา มาตรฐานงาน ระบบติดตามประเมินผล แบบฟอร์มที่ใช้ เอกสาร อ้างอิง