ทฤษฎีและหลักการบริหารชั้นเรียน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การสร้างห้องเรียนคุณภาพ
Advertisements

โรงเรียนวัดเขาปิ่นทอง
การจัดการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับธรรมชาติ ของเด็กแต่ละวัย
ลักษณะของหลักสูตร หลักสูตรที่เน้นเนื้อหาเป็นหลักสำคัญ
การบริหารจัดการเพื่อ พัฒนาผลการปฏิบัติงาน
อาจารย์อนุวัตร ธรรมปริพัตรา
ปฏิบัติการขับเคลื่อน ห้องเรียนคุณภาพ
EQ หลักสูตร การบริหารอารมณ์ สู่การทำงานอย่างมืออาชีพ
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544
ห้องเรียนแห่งการเปลี่ยนแปลง
ทักษะและเทคนิคการสอน Teaching Skills and Techniques
ทักษะและเทคนิคการสอน Teaching Skills and Techniques
บทที่ 1 การวิจัยกับการ พัฒนางานของครู
กิจการนิสิต (Student Affairs)
สัปดาห์ที่ 5 เรื่อง การจูงใจ.
พฤติกรรมองค์การ ( Organization Behavior )
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
มีหน้าที่เชื่อมโยงผู้คน/หน่วยงานเข้าหากัน
: หัวข้อและความสำคัญของปัญหา
: หัวข้อและประเด็นปัญหา
หลักสูตรการจัดการทั่วไป
ห้องเรียนแห่งการเปลี่ยนแปลง
ดร.นิวัตต์ น้อยมณี การประเมินห้องเรียนคุณภาพ โดย
การพัฒนานักเรียนโดยครูและโรงเรียน
ขวัญในงานธุรกิจอุตสาหกรรม
1. ตัวแปรต้น 2. ตัวแปรตาม 3. ตัวแปรควบคุม การกำหนดและควบคุมตัวแปร.
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การส่งเสริมและป้องกัน ปัญหานักเรียน
การเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ และผู้นำทางวิชาการ
การวิจัยกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
การวัดผล (Measurement)
การสร้างวินัยเชิงบวก
องค์ประกอบของการสร้างวิสัยทัศน์ร่วมกัน
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
การจัดการเรียนรู้โดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ
หมายเหตุ : หน้าแรกแล้วแต่ท่านจะออกแบบนะครับ
การประเมินแผนการสอน สุธาสินี ศรีวิชัย
การจัดการเรียนรู้ที่เน้นคุณภาพในห้องเรียน
ทักษะและเทคนิคการสอน Teaching Skills and Techniques
ทักษะและเทคนิคการสอน Teaching Skills and Techniques
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
สถานศึกษาประเภทที่ 1 ทบทวนสาระผู้นำการเปลี่ยนแปลง
การเรียนรู้ที่ต้องการพัฒนา
แก้ปัญหาพฤติกรรมการขาดความรับผิดชอบในการส่งงานโดยใช้หลักไตรสิกขา
ชื่อเรื่อง การแก้ปัญหานักศึกษาสอบไม่ผ่านเกณฑ์ในรายวิชา โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึ่มของนักศึกษาปวส. 1/2 วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจสงขลา โดยใช้วิธีการสอนแบบร่วมมือ.
โรงเรียนสายธรรม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
ชุดเรียนรู้สร้างเสริมสุขภาพช่องปากนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1- 6
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนบนเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ด้วยการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้เทคนิคการใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับ เทคนิคจิกซอว์ เรื่อง อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น.
ปัญหาจริยธรรมในทางธุรกิจ
นายณัฐกร กันทะศรี วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
วิธีสอนแบบสืบสวนสอบสวน
การสอนแบบสืบสวนสอบสวน
การประกวดแข่งขันผลงานวิจัย และนวัตกรรมสื่อสารสอนทางอาชีวศึกษา
อาจารย์บำเรอ ศรีสุขใส
เสริมสร้างพฤติกรรมความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย โดยการใช้เสริมแรงทางบวก นางอภิรดี จำรูญวัฒน์
ผู้วิจัย นาง นิภารัตน์ ทองโคตร กลุ่มวิชาพื้นฐาน
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
วิธีสอนแบบอุปนัย.
แนวทางการพัฒนาทรัพยากรบุคคล
ผู้วิจัย : นางสาวสรชา เฟื่องสังข์
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาระบบจัดการพลังงานใน อุตสาหกรรม ระดับชั้น ปวส.2/1 หมวดวิชาช่าง ยนต์ โดยใช้กิจกรรมเพื่อนช่วยเพื่อน โดย นายสุรชัย ไตรบรรณ์
วิชาปฏิบัติหลักการและเทคนิคการพยาบาล
ด้านครูและบุคลากรทางการศึกษา
CIPP Model : การประกันคุณภาพ
ตัวอย่าง การเขียนโครงการ
นางสาวสายพิน มโนศักดิ์เสรี โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ทฤษฎีและหลักการบริหารชั้นเรียน สุธาสินี ศรีวิชัย คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย

ทฤษฎีและหลักการบริหารชั้นเรียน คำจำกัดความ Kuachak และ Eggen = การบริหารการจัดชั้นเรียน ประกอบด้วย ความคิด การวางแผน และการปฏิบัติทั้งหลายทั้งปวงของครูที่สร้างสรรค์สภาพแวดล้อมอย่างเป็นระบบระเบียบ และส่งเสริมการเรียนรู้ Moore = การบริหารจัดการชั้นเรียน เป็นกระบวนการของการจัดระบบระเบียบ และนำกิจการของห้องเรียนให้เกิดการเรียนรู้

รูปแบบในภาพรวม 1. Assertive discipline model (AD) 2. Noncoercive discipline model (ND) 3. Behavior modification model (BM) 4. Teacher effectiveness training model (TET) 5. Positive classroom discipline (PCD) 6. Cooperative discipline model (CD) 7. Positive discipline in the classroom model (PDC) 8. Discipline with dignity model (DWD)

แนวความคิดเกี่ยวกับการบริหารการจัดการชั้นเรียน 1. การบริหารการจัดการชั้นเรียนและการเรียนการสอน เป็นสิ่งที่มีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน 2. เป็นไปไม่ได้ที่จะแยกการบริหารการจัดการชั้นเรียน กับหน้าที่การจัดการเรียนการสอน 3. การบริหารชั้นเรียนเป็นความท้าทายของการเป็นครู มืออาชีพ

การเตรียมตัวเพื่อการบริหารจัดการชั้นเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ 1. ครูต้องสร้างข้อกำหนดที่ชัดเจนและมีขั้นตอนการ ปฏิบัติได้ 2. ครูพัฒนาระบบในการยึดเหนี่ยวนักเรียนให้ รับผิดชอบการเรียนได้ 3. ครูต้องมีทักษะการวางแผน 4. ครูต้องมีทักษะการแก้ปัญหา 5. ครูต้องยอมรับอิทธิพลระหว่างบุคคล 6. ครูสามารถกระตุ้นให้เกิดพฤติกรรมที่คาดหวังได้

ความสัมพันธ์ระหว่างการจัดการชั้นเรียนและการเรียนการสอน 1. ความประสานสอดคล้อง 2. สร้างพลังในการขับเคลื่อนการเรียนรู้ วินัยเชิงบวกในห้องเรียน วิธีพบปะในชั้นเรียนจะทำให้นักเรียนได้รับประโยชน์ 1. การพัฒนาการรับรู้ 2. การพัฒนาทักษะสำคัญๆ

วินัยเชิงบวกเกิดได้ด้วยการสอนเชิงบวก 1. การสอนจะต้องเอาใจใส่ด้วยการสังเกตครูที่มี แนวคิดเชิงบวก 2. พฤติกรรมทั้งหลายทั้งปวงในห้องเรียนเป็นสิ่งที่ เรียนรู้ได้เกือบทั้งหมด 3. การเรียนรู้รวมถึงการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม 4. พฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลงเป็นผลที่เกิดตามมา 5. พฤติกรรมที่เหมาะสมย่อมได้รับอิทธิพลจาก บริบทของห้องเรียน

บรรยายกาศในชั้นเรียน Moore ให้แนวทางในการสร้างแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ในห้องเรียน 1. ครูคาดหวังสิ่งที่ดีที่สุดจากนักเรียน 2. เป็นรูปแบบพฤติกรรมที่พึงประสงค์ 3. มีส่วนร่วมในความคาดหวังซึ่งกันและกัน 4. สร้างบรรยากาศเชิงบวก 5. ทุกกิจกรรมต้องให้นักเรียนมีส่วนร่วม