การดำเนินงานเบาหวาน-ความดันโลหิตสูง ในเขตพื้นที่

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Homeward& Rehabilitation system
Advertisements

บูรณาการสู่ความสำเร็จ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
Service Plan สาขา NCD.
การพัฒนาระบบการส่งต่อโรคเรื้อรังใกล้บ้านใกล้ใจ โรงพยาบาลท่ายาง อำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี กฤษณา เปรมศรี 10 มกราคม
กายภาพบำบัด ใน โรงพยาบาลสร้างเสริมสุขภาพตำบล
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านพระแท่น ตำบลพระแท่น อำเภอท่ามะกา จังหวัดกาญจนบุรี รับผิดชอบดูแลพื้นที่ 16 หมู่บ้าน 1 อบต. 1 เทศบาล มีประชากร 9,054 คน.
ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
บทเรียน Best Practice ของระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว
การจัดกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในชุมชน
สวัสดีครับ.
การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณีปกติรอบที่ 1 ปีงบประมาณ จังหวัดสุรินทร์
ผลการพัฒนาระบบการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
การควบคุมวัณโรคเขตเมือง
การประชุมเชิงปฏิบัติการใช้ค่ากลาง
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
งานโรคไม่ติดต่อ กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครราชสีมา
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ (District Health System)
ความคาดหวังหลังการประชุมฯ ครั้งนี้
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
Best Practice โรงพยาบาลสมเด็จพระญาณสังวร จังหวัดเชียงราย
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาส พัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแล ผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 12.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
โรคหลอดเลือดสมองเสื่อม
1. 1. กลุ่มองค์กร ปกครองส่วน ท้องถิ่น 2. เจ้าหน้าที่ รพ. สต และ เจ้าที่ในรพ. 3. ครู
ระดับเขต : สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี
นพ.วินัย ศรีสอาด สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ กรมการแพทย์
คณะทำงานกลุ่มที่ 1 ลำปาง เชียงราย อุตรดิตย์ ลำพูน พะเยา
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
การพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
รักษาราชการแทนปลัดกระทรวงสาธารณสุข
น.พ. ศิริวัฒน์ ทิยพ์ธราดล
กลุ่มที่ 13 ประกอบด้วยกลุ่มบุคคลที่มาจากหลายเขต เช่น เขต 1, 2, 3, 10, 15 มีทั้งหมด 3 ประเด็นด้วยกัน คือ 1. สรุปกระบวนการและข้อเสนอแนะการนิเทศ รพ.สต. รอบที่
นโยบาย ปฐมภูมิ ลดแออัด พัฒนาคุณภาพบริการ
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
การป้องกันโรคไตแบบบูรณาการ
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
การดำเนินงานหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพแบบบูรณาการ สู่
ร่วมด้วย ช่วยกัน ประชาชนคือ เป้าหมาย ร่วมด้วย ช่วยกัน ประชาชนคือ เป้าหมาย นพ. นิทัศน์ ราย ยวา ผู้ตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข.
บุคลากรของเรา นวก.สาธารณสุข 3 คน พยาบาลเวชปฏิบัติ 2 คน
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
กลุ่มที่ 3 การทำงานร่วมกันระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
หลักการและเหตุผล หน่วยงานภาครัฐ/ เอกชน ต่างคนต่างทำงานไม่ได้เชื่อมประสานการทำงานเป็นเครือข่าย โรคและภัยสุขภาพเกิดขึ้นในทุกพื้นเพียงแต่แตกต่างกันในรายละเอียด.
โครงการหมู่บ้าน / ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค
การพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอ District Health System (DHS)
แนวทางดำเนินงานควบคุม ป้องกัน และรักษาโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ในระบบหลักประกัน สุขภาพถ้วนหน้า 2554 พญ.ขจีรัตน์ ปรักเอโก สปสช.เขต 7 ขอนแก่น 1 มิถุนายน.
การประเมินคลินิกNCD คุณภาพ
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
ประจำเดือนมกราคม 2557 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
การเชื่อมโยงนโยบายบริการสุขภาพลงสู่อำเภอ, ตำบล
พิเชษฐ์ ไชยวงค์ สาธารณสุขอำเภอหนองหิน. ที่มา..... นโยบายที่เริ่มดำเนินการ ตั้งแต่ปี ปัจจุบัน เตรียมคน / สถานที่ / ประสานทีม แพทย์ / เภสัช / Lab.
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
ทีมหมอประจำครอบครัว (Family care team) ดูแลถ้วนทั่วทุกกลุ่มวัย
บูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพ ด้านพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
การพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ จังหวัดอุบลราชธานี นางปริญญา ผกานนท์ นักวิชาการสาธารณสุข 8 ว.
การดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง
ประชาชน “อุ่นใจ” มีญาติทั่วไทย เป็นทีมหมอครอบครัว
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
ยุทธศาสตร์การพัฒนารพ. สต. แบบบูรณาการจังหวัดแพร่ ประจำปีพ. ศ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
เกณฑ์การประกวดอำเภอดีเด่น ด้านการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การดำเนินงานเบาหวาน-ความดันโลหิตสูง ในเขตพื้นที่ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดระยอง โดย นพ.ปรเมษฐ์ กิ่งโก้ นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดระยอง

คำขวัญประจำจังหวัดระยอง ผลไม้รสล้ำ อุตสาหกรรมก้าวหน้า น้ำปลารสเด็ด เกาะเสม็ดสวยหรู สุนทรภู่กวีเอก

ปัญหาที่ผ่านมาของจังหวัด เบาหวาน/ความดันโลหิตสูง เป็นปัญหาอันดับต้นๆ ของจังหวัด ขาดแคลนบุคลากร แพทย์ ระบบนัด นัดทีเดียวทั้งอำเภอ ระบบข้อมูลประสาน ผู้ป่วย/ญาติมีส่วนร่วมน้อย มีผู้ป่วยมาก รพ.มีความแออัด ชุมชนมีส่วนร่วมน้อย

4L’s & KMP KI KCA KO KCR KA KS L L.Methodology IT เอกสาร L.Environment บรรยากาศ สนุก จูงใจ L.Communities L. Opportunity สร้างโอกาส เวที พบปะกันเอง ภายนอก รวมเรื่องดีๆ คนดีๆ ข่าวดีๆ

แรงจูงใจมันไม่ได้ดังใจ 1:500 1:5 DE อสม.DM 1.Team ขึ้นทะเบียนเรื่องดี ๆ IT 2.Data จังหวัด อำเภอ ตำบล หมู่บ้าน 3.Community Network ผู้ป่วย กลุ่มเสี่ยงไม่นาเบื่อ จนท.ภูมิใจ ชื่นชม แรงจูงใจ 4.Environment สม่ำเสมอ เวที 5. Oppoturnity พอเพียง : พออยู่ พอกิน สหกรณ์ เครือข่าย DM : เริ่มทำดีกว่าไม่ได้ทำ ทำแล้วก็ทำให้ดีกว่าที่ทำอยู่ ทำดีแล้วก็รวมกลุ่มกัน เตรือข่ายสร้างสรรค์ความรู้

การดำเนินงาน คณะกรรมการจังหวัด คณะกรรมการอำเภอ คณะกรรมการตำบล คณะกรรมการหมู่ 1 คณะกรรมการหมู่ 2 คณะกรรมการ หมู่ 3 คณะกรรมการ หมู่ 4

กิจกรรม 3 C C = Class C = Club C = Camp

บันไดของการพัฒนางาน ระดับหมู่บ้าน ระดับโรงพยาบาล . ระดับหมู่บ้าน ระดับPCU ระดับโรงพยาบาล ปี............................. ปี............................. ปี.............................

แผนชุมชน – บริการในชุมชน กลุ่มเสี่ยง – เครือข่าย 1:5- 1: 10 กลุ่มดี, พอใช้, ปรับปรุง -ชมรมDM /HT -เพื่อนเตือนเพื่อน ชุมชน/อปท. KM KM DM/HT TEAM จำนวนทีม พยาบาล 1 คน: ผู้ป่วย DM/HT....คน ระบบบริการ ผู้ป่วย/ญาติ คกก., ข้อมูล, CPG ทีม, วิชาการ, 3C One stop service CUP/PCU ต้นแบบ -มหกรรม KM ระบบนัด ระบบเยี่ยมบ้าน -ส่งเสริมวิทยากร หลักการทำงาน

การดูแลผู้ป่วยDM/HTในชุมชน สนับสนุนการดูแลตนเองที่ชุมชน สนับสนุนเครื่องเจาะน้ำตาล สนับสนุนเครื่องวัดความดัน คัดเลือกเป็นวิทยากรกลุ่มในชุมชน 1:5 – 1:10 ดี รับยาในชุมชน พอใช้ จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในชุมชน ปรับปรุง พบทีมสหสาขาวิชาชีพ/เข้ากลุ่ม EMS

ความสำเร็จการดูแล DM ความสำเร็จการดูแล DM ระบบบริการ นโยบาย -ทีม องค์กร แรงจูงใจ เครือข่าย นิเทศติดตาม -ระบบ -ทีม -ชุมชน

กิจกรรม ค้นหาให้เร็ว แยกกลุ่มให้ถูก แก้ไขได้ไว ลดป่วย/ ลดเงิน/ ลดงาน อสม./ แกนนำ ค้นหาให้เร็ว คัดกรองให้เสร็จในไตรมาสแรก ป้องกัน ปกติ ปรับพฤติกรรม แยกกลุ่มให้ถูก เสี่ยง ดูแลรักษา ป่วย แก้ไขได้ไว ลดป่วย/ ลดเงิน/ ลดงาน

พัฒนาคลินิกระดับ PCU/ สอ. กิจกรรม อบรมบุคลากรทุก PCU/ สอ. กิจกรรมครอบคลุม เพื่อนช่วยเพื่อน * ดี * ปานกลาง * ปรับปรุง พัฒนาคลินิกระดับ PCU/ สอ. ลดความแออัดของ ร.พ. ลดค่าใช้จ่าย

สิ่งดีๆ แบ่งปัน แลกเปลี่ยน เรียนรู้ เวทีประกวด Best Practice กิจกรรม สิ่งดีๆ แบ่งปัน แลกเปลี่ยน เรียนรู้ KM เวทีประกวด Best Practice เครือข่าย จังหวัด อำเภอ โซน

การจัดการความรู้เบาหวาน-ความดัน “การทำเรื่องนี้ต้องมีเครือข่าย ปีหน้าก็จัดเวทีมาแลกเปลี่ยนกันอีก จะทำให้ไม่โดดเดี่ยว มีกำลังใจในการดำเนินงาน”

ต้องparadigm shift ก่อน บางคนคิดว่าเป็นเรื่องของหมอ “การแลกเปลี่ยนเรียนรู้อย่างแรก ต้องparadigm shift ก่อน บางคนคิดว่าเป็นเรื่องของหมอ ถ้าพึ่งหมอเมื่อไหร่เป็นจบกัน”

“เจ้าหน้าที่อนามัยมักคิดว่าเป็น เรื่องที่ตนเองทำไม่ได้ ความจริง อยู่ที่การจัดระบบ ต้องมี การสร้างเครือข่าย”

“การทำเรื่องนี้จะเกิดขึ้นได้อยู่ที่ระบบบริหาร จัดการ ให้ชาวบ้านมีส่วนร่วม Setระบบ ตั้งแต่ระดับจังหวัดลงมา”

อยากเห็นชาวบ้านขึ้นเวทีเล่า เรื่องการดูแลตนเองที่ดีบ้าง” “วันนี้ทุกคนมาเล่าเรื่องดี ๆ ในการทำงานเบาหวาน อยากเห็นชาวบ้านขึ้นเวทีเล่า เรื่องการดูแลตนเองที่ดีบ้าง”

“ต่อไปพวกเราจะมาพบกัน ทุกปี คนทำงานจะได้มี กำลังใจ ไม่เบื่อ และขอให้ทุกคน มีความสุขกันการทำ KM ในวันนี้ สวัสดี”

ข้อเสนอแนะด้านงบประมาณ 1. ระบบข้อมูลเชื่อมต่อกับ HCIS มบ. ต. อ. จ. พร้อมการวิเคราะห์ 2. การคัดกรองจ่ายเป็น rate - 60 - 70 % - 71 - 80 % - มากกว่า 80 %

ข้อเสนอแนะด้านงบประมาณ 3. ระบบบริหารจัดการระดับจังหวัด/คปสอ./ตำบล/อปท. 4. พัฒนาบุคลากร พยาบาล DE บุคคลต้นแบบในชุมชน วิทยากรในชุมชน 5. การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง 6. ระบบสนับสนุน Lab 7. จ่ายตามผลลัพธ์ เช่น % การคัดกรอง % ของการดูแลตนเองที่ดีขึ้น การลดลงของภาวะแทรกซ้อน

สวัสดีทุกท่านครับ.... นพ.ปรเมษฐ์ กิ่งโก้ นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดระยอง